การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ แผนปฏิบัติการ (Action Plan)
เป้าประสงค์ Structure Process IT People Action Plan (แผนปฏิบัติการ) การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ (Strategy Implementation) แผนปฏิบัติราชการรายปี แผนยุทธศาสตร์ /แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี วิสัยทัศน์/ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ (ตัวชี้วัด/เป้าหมาย) กลยุทธ์ Action Plan (แผนปฏิบัติการ) S W O T Structure Process IT People Alignment
ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก SWOT กับ กลยุทธ์ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก S จุดแข็งภายใน W จุดอ่อนภายใน O โอกาสภายนอก SO กลยุทธ์เชิงรุก โดยใช้สภาพของโอกาส และจุดแข็ง ทำให้วิสัยทัศน์ สู่ความสำเร็จ WO กลยุทธ์เชิงรับ/เชิงแก้ไข ใช้สภาพของโอกาส และจุดแข็ง แก้ไขจุดอ่อน T อุปสรรคภายนอก ST กลยุทธ์เชิงป้องกัน/เชิงปรับเปลี่ยน ป้องกันอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น WT กลยุทธ์อิสระ (คิดนอกกรอบ SWOT) ใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค์ เร่งรุกบุกเร็ว Aggressive ตั้งรับปรับตัว Turnaround P.S.O. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน (จุดด้อย) โอกาสและอุปสรรค (ความเสี่ยง)ขององค์กร (SWOT Analysis) โดย รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ชูเพ็ญ วิบุลสันติ Download จาก http://www.geocities.com/psothailand/swotanalysis.html 10 กุมภาพันธ์ 2546 รั้งรอขอจังหวะ Defensive/ Diversify เลิกราหาแผนใหม่ Retrenchment แต่ถ้ามีการแก้ไขจุดอ่อน และป้องกันอุปสรรค
การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติการ นโยบายปรับเปลี่ยน ทบทวน/ปรับกลยุทธ์ สังคม/โลกเปลี่ยนแปลง แผนยุทธศาสตร์ ความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล กระบวนการปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติการ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผู้ปฏิบัติ เวลา
แผนปฏิบัติการ แผนที่ทำขึ้นสำหรับใช้ในการบริหารให้เกิด ความสำเร็จและมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ที่กำหนด มีระบบการทำงานที่ชัดเจน ใช้งบประมาณคุ้มค่าและมีการตรวจสอบ
แผนปฏิบัติการคือ เครื่องค้ำประกันว่าเป้าหมายในการทำงานในแต่ละปีมีโอกาสบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ แผนปฏิบัติการคือ ผลของการแปลงความคิดในการจะทำสิ่งต่าง ๆ ของคนทำงานให้ออกมาอยู่ในกระดาษที่ผ่านการกลั่นกรองแล้วว่าเป็นไปได้และสอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดไว้
วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อให้มั่นใจว่ามีแนวทางในการสร้างความสำเร็จให้กับเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อลดความขัดแย้งในการทำงาน เพื่อจัดลำดับความสำคัญและเร่งด่วน เพื่อใช้มอบหมายงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ใครจะต้องทำอะไร เมื่อไหร่ อย่างไร) เพื่อใช้ในการกำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายประจำปี เพื่อให้แผนที่วางไว้มีความเป็นไปได้
4. ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ 1. ศึกษาแผนยุทธศาสตร์ 5. ควบคุม กำกับ ติดตาม PLANNING 2. ทบทวน/ปรับกลยุทธ์ 3. จัดทำแผนปฏิบัติการ 4. ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน
ศึกษาแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์กลยุทธ์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อจัดทำรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินงานต่างๆให้เป็นไปตามกลยุทธ์
ทบทวน/ปรับกลยุทธ์ พิจารณาว่าเหมาะสมหรือไม่ อาจมีกรณีที่มีความจำเป็นต้องปรับกลยุทธ์ เนื่องจาก - นโยบาย - สังคมภายในประเทศ สังคมโลก - กลยุทธ์ไม่เหมาะสม
ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการ แปลงแผนยุทธศาสตร์ เป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อเป็นกรอบ ทิศทางการดำเนินงานตามภารกิจ
ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน ปรับกระบวนการปฏิบัติงานเพื่อให้พร้อมที่จะนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติงานได้สำเร็จ
ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติงาน - ตรวจสอบความเข้าใจ - กำกับการปฏิบัติงาน - การได้รับการสนับสนุนโดยการมีส่วนร่วม
ลักษณะของแผนปฏิบัติการที่ดี เป็นไปได้สูง ผ่านการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ปฏิบัติได้ พิจารณาจากกิจกรรมในแผน นำไปใช้แล้วเสร็จทันเวลา ยืดหยุ่น แผนนั้นเอื้อในการให้มีการปรับให้เหมาะกับสถานการณ์ สื่อความได้ชัดเจน บุคลากรทุกคนเข้าใจและทำหน้าที่ได้เหมาะสม บังเกิดผล แผนที่ให้ผลตามเป้าหมาย เชิงปริมาณ และ คุณภาพ ประหยัด กิจกรรมที่ทำมีประสิทธิภาพ บังเกิดผลอย่าง ประหยัดเวลา และ ทรัพยากร ร่วมจัดทำ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดทำ สนองกลยุทธ์/นโยบาย มีการใช้ข้อมูล (จำเป็น) เป็นพื้นฐานในการตัดสินใจ มีระบบการบังคับ ควบคุม ติดตามและประเมินผล เพื่อการปรับปรุง
แผนงาน โครงการ
แผนงาน กลุ่มของงานหรือโครงการที่มีความเกี่ยวข้องสอดคล้องเชื่อมโยงกันอยู่ภายใต้ภารกิจ หน้าที่ เพื่อให้การทำงานบรรลุวัตถุประสงค์เดียวกัน
โครงการ กิจกรรมที่สามารถ วิเคราะห์ วางแผน กิจกรรมที่สามารถ วิเคราะห์ วางแผน และนำไปปฏิบัติโดยมีจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุด มีวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีดำเนินงาน ทรัพยากร ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบโครงการ และวิธีประเมินผล ที่ชัดเจน
โครงการ การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทำขึ้นอย่างมีระบบมีเป้าหมายเพื่อการผลิตหรือให้บริการ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดำเนินงานและคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า
ลักษณะของโครงการที่ดี วัตถุประสงค์ เป้าหมายชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย รายละเอียด โครงการ สอดคล้อง แก้ปัญหา สนองความต้องการ มีวิธีติดตาม ประเมิน ชัดเจน ระยะเวลา ชัดเจน ทรัพยากร เหมาะสม
องค์ประกอบของโครงการ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล แสดงความเป็นมา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลา กิจกรรมและวิธีดำเนินการ งบประมาณที่ใช้ ผู้รับผิดชอบ การประเมินผล
วัตถุประสงค์ /เป้าหมาย ส่วนประกอบโครงการ ชื่อโครงการ/งาน ทำอะไร หลักการและเหตุผล ทำไม ต้องทำ กิจกรรม ต้องทำ อะไรบ้าง วัตถุประสงค์ /เป้าหมาย ทำแล้วได้อะไร การวัดและประเมินผล ทำได้แค่ไหน งบประมาณ
แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ………………… หน่วยงาน............................... ยุทธศาสตร์ที่................................... กลยุทธ์ที่.......................... ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ สถานที่ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ/ หน่วยนับ จำนวน ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ดำเนินการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เชิงปริมาณ…………….. เชิงคุณภาพ……………. เชิงปริมาณ…………….
Thank you for your attention