ความหมายของปรัชญา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณะศึกษาศาสตร์ กำแพงแสน มก.
Advertisements

ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 สภาวะสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ เป็นอยู่ มีอยู่จริง ??? Ontology VS. Entity / Environment หลักแนวคิด การเข้าถึงองค์ความรู้ของ มนุษย์ เข้าถึง MIS / KB Epistemology.
การบรรยายตอนสอง ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ความรู้ของใคร ? เพื่อใคร ? * ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม การบรรยายตอนสอง 
ความคิดพื้นฐานทางการวิจัย
อวิชชา / ความไม่รู้ Ignorance คน / ปัญหา Problem/Human ศึกษา / วิจัย Education/ Research ความรู้แจ้ง Knowledge Wisdom ปรากฏการณ์ ธรรมชาติ Natural Phenomena.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การดูแลแบบเอื้ออาทร.
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
การออกแบบปัญหาการวิจัย
อภิปรัชญา ความเป็นจริงสูงสุดที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัส
การจัดการองค์ความรู้
สังคมและการเมือง : Social and Politics
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท THERAVADA BUDDHIST PHILOSOPHY
พัฒนาการของการวัดและประเมินผลการศึกษา
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
จรรยาบรรณ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
อาจารย์ไชยรัตน์ ศิรินคร
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
ปรัชญาทางการเมือง Political Philosophy
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การรับรู้สุนทรียภาพในงานศิลปะ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
บทที่ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา วิธิการทางปรัชญา
เส้นทางสู่ วิชาชีพนักกฎหมาย
25/02/62 Equality Human dignity Human Rights Pitak kerdhom.
ข้อมูลประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูง
จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
การออกแบบธุรกิจออนไลน์
บทที่ 6ทฤษฎีเกม Game Theory
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
หลุยส์ ปาสเตอร์  (Louis Pasteur).
ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy) หมู่ 2.
การประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสังเคราะห์บทเรียน 3 ปี
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
แนวคิดจิตสาธารณะในมิติเยาวชน
เกรกอร์ โยฮันน์ เมนเดล
วิธิคิดแบบโยนิโสมนสิการ
เบื้องต้นว่าด้วยรัฐศาสตร์
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
โดยนายทวีวัฒน์ นิ่มวรพันธุ์ ผู้อำนวยการการประปาส่วนภูมิภาคเขต 7
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเขียนย่อหน้า.
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
วิชาดุษฎีสัมนาบริหารขั้นสูง นวัตกรรม (Innovation)
ตารางแสดงจำนวนบุคลากรแยกตามศูนย์
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของปรัชญา

เนื้อหาของปรัชญาแบบเก่าหรือสมัยโบราณ ศึกษาเกี่ยวกับความแท้จริงที่สุด ที่เรียกว่า.. -อันติมสัจจะ -เอกภพ -วิญญาณ -พระผู้เป็นเจ้า -สิ่งสมบูรณ์ 2

เนื้อหาของปรัชญาแบบปัจจุบันหรือสมัยใหม่ ศึกษาเรื่องของบุคคลและสังคม โดยเน้นเรื่องของชีวิตและจุดหมายชองชีวิต เช่น -ชีวิตคืออะไร -คุณค่าของชีวิตวิตอยู่ที่ไหน คนเรามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร เราจะทำตนให้เป็นประโยชน์ได้อย่างไร -สังคมสงบสุขได้อย่าง -ธรรมชาติควรเป็นไอย่างไร 3

ความเป็นมาของการเกิดการคิด ลักษณะของนักปรัชญา รักสงบ รักความจริง จงรักภักดี

4. เคารพต่อผู้มีอำนวจเหนือตน 5. มีความกระตือรือร้นที่จะค้นหาความลึกลับของชีวิตคติของนักปรัชญา

คติของนักปรัชญา “จงอยู่เพื่อหาความรู้ ไม่ใช่หาความรู้เพื่ออยู่” “อยู่ง่าย ๆ คิดสูง ๆ “ นักปรัชญากรีโบราณ “จงอยู่เพื่อหาความรู้ ไม่ใช่หาความรู้เพื่ออยู่”

คุณสมบัติที่นักปรัชญาเน้นศึกษา 1. ความดี 2. ความจริง 3. ความยุติธรรม 4. ความงาม เพลโต

ความหมายของปรัชญา

ความรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร ……? ความรู้ที่แท้นั้นคือ ความคิด (Idea) ที่เก็บสะสมไว้ในจิตของมนุษย์เราอันเกิดจากการที่ ร่างกายมีประสบการณ์ (การรับรู้) ทางประสาท สัมผัส

ที่มาของความรู้มี 3 ประการ 1. ความรู้ประจักษ์ (Immediat Apprehension) 2. การอนุมาน (Inference) 3. พยานหรือหลักฐาน (Testimony and Authority) 16

แนวคิดทางปรัชญาแบบตะวันตก แบ่ง 3 1. แนวความคิดแบบวัตถุนิยม (materialistic) 2. แนวความคิดแบบสัจนิยม (Realistic) 3. แนวคิดแบบจิตนิยม (Idealistic) 17

วิวัฒนาการแห่งความรู้ของมนุษย์ 1. ความรู้ได้มาจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 2. ความรู้ที่ได้มาจากพระเวท 3. ความรู้ที่เกิดจากผัสสะ ประสบการณ์ 4. ความรู้ที่ได้จากการคิด 5. ความรู้เป็นสภาวะที่ติดตัวมาแต่กำเนิด 6. ความรู้เป็นสิ่งที่เกิดจากการหาเหตุผล 7. ความรู้เกิดจากจิตวิญญาณ

2.ปรัชญาเชน บรรลุไกวัล หรือเกาลิน โดยยึดหลัก 3 ประการ 2.ปรัชญาเชน บรรลุไกวัล หรือเกาลิน โดยยึดหลัก 3 ประการ 1. สัมมาศรัทธา ความเชื่อที่ถูกต้อง 2. สัมมาญาณ การเรียนรู้ให้เข้าใจ แจ่มแจ้ง 3. สัมมาจริต การปฏิบัติให้ถูกต้อง ตามหลักศาสนา

3.ปรัชญาพระพุทธศาสนา บรรลุนิพาน โดยยึดหลัก 3 ประการ(ไตรสิกขา) 3.ปรัชญาพระพุทธศาสนา บรรลุนิพาน โดยยึดหลัก 3 ประการ(ไตรสิกขา) 1. ศีล การควบคุมกาย วาจา 2. สมาธิ การควบคุมใจ 3. ปัญญา การรู้แจ้ง - แก่ง (ปัญญา) - ดี (ศีล) - มีสุข (สมาธิ)

ปัญญา 3 (โกศล) ปัญญา : ความฉลาด ความเชียวชาญ อายโกศล ความฉลาดในความเจริญ อปายโกศล ความฉลาดในความเสื่อม อุปายโกศล ความฉลาดในอุบาย การแก้ไขปัญหา

บ่อเกิดแห่งปัญญาในทัศนะของไทยโบราณ 1. หลักศรัทธา 2. หลักโยนิโสมนสิการ 3. หลักการสร้างนิสัยใฝ่รู้ (สุ. จิ. ปุ. ลิ.) 4. หลักการสร้างปัญญาแบบพุทธ คำว่า “พุทธ” ธาตุ ในความรู้ (รู้ , ตื่น , เบิกบาน)

4.หลักการสร้างปัญญาแบบพุทธ (ต่อ) 4.1. จินตมยปัญญา ปัญญาเกิดจากากรฝัง 4.2. สุตมนปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการคิด 4.3. ภาวนามยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการทำสมาธิ (ฝึกฝนอบรม)

หลักความคิดที่เป็นความจริง 1. มีเหตุผล (สนิทานัง) 2. พิสูจน์ทดลอง (เอหิปัสสิกะ) 3. เป็นที่ยอมรับของผู้รู้ทั้งหลาย (เวทิตัพโพวิญญูหิ) 4. เป็นความจริงสากลตลอดไปไม่ขึ้นกับกาล (อกาลิกะ)

การคิด (ปรัชญา) เป็น 2 ฝ่าย คือ 1. ปรัชญาตะวันออก 2. ปรัชญาตะวันตะวันตก

ปรัชญาตะวันออกแบ่งเป็น 3 สมัย 1. สมัยพระเวท พระเวท (เวทะ, วิทะ) แปลว่า ความรู้ แบ่งเป็น 4 หมวด คือ 1. หมวดมันตระ หรือ มนตร์ 2. หมวดพราหมณะ

คัมภีร์ พระเวทครั้งแรก เรียก “ไตรเพท” 1. ฤคเวท หรือ ฤคสัมหิตา 3. หมวดอารัณยกะ 4. หมวดอุปนิษัท คัมภีร์ พระเวทครั้งแรก เรียก “ไตรเพท” 1. ฤคเวท หรือ ฤคสัมหิตา 2. ยชุรเวท หรือ ยชุรสัมหิตา 3. สามเวท หรือ สามสัมหิตา 4. อาถรรพเวท หรือ อถวสัมหิตา

2. สมัยสำนักปรัชญา เป็นยุคทองของสำนัก ปรัชญาอินเดีย มี 9 สำนัก แบ่งเป็น 2 ฝ่าย 1. ฝ่ายอาสติกะ คือนับถือความศักดิ์สิทธิ์ มี 6 สำนัก คือ 1.1 สางขยะ ผู้ก่อตั้งคือ กบิล 1.2 โยคะ “ ปตัญชลี

1.3 นยายะ ผู้ก่อตั้งคือ โคตมะ 1.4 ไวเศษิกะ “ กณาทะ 1.5 มีมางสา “ ไชมินิ 1.6 เวทานตะ “ ศังกราจารย์

2. ฝ่ายนาสติกะ คือฝ่ายที่ไม่นับถือความ 2. ฝ่ายนาสติกะ คือฝ่ายที่ไม่นับถือความ ศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท 2.1 พุทธศาสนา ผู้ก่อตั้งคือ พระพุทธเจ้า 2.2 ศาสนาเชน “ พระมหาวีระ 2.3 จารวาก “ พฤหัสบดี 3. สมัยใหม่และปัจจุบัน

นักปรัชญาตะวันตกแบ่งเป็น 4 สมัย นักปรัชญาตะวันตกแบ่งเป็น 4 สมัย 1. สมัยโบราณ 1.1 ยุคเริ่มต้น 1.2 ยุตรุ่งเรือง 1.3 ยุคเสื่อม

2. สมัยกลาง 2.1 ปรัชญาปิตาจารย์ 2.2 ปรัชญาอิสลาม 2.3 ปรัชญาอัสสมาจารย์

3. สมัยใหม่ 3.1 เบคอน 3.2 เดส์การณ์ตส์ 3.3 ค้านท์ 4. สมัยปัจจุบัน

ขอบเขตเนื้อหาปรัชญา แบบที่ 1 ฟรานซิส เบคอน มี 2 สาขา คือ 1.1 ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) 1.2 ปรัชญาเกี่ยวกับมนุษย์ (Human Philosophy)

1.3 พวกพหุนิยม (Pluralism) - พวกพหุวัตถุนิยม - พวกพหุจิตนิยม ปัญหาอภิปรัชญา มี 3 ประเด็น คือ 1. ปัญหาเอกภพ (Cosmology) 2. ปัญหาภาวะ หรือ ภาววิทยา (Ontology) 3. ปัญหาจิต (Philosophy of Mind)

2. ญาณวิทยา (Epistemology) หรือ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) 4 ประเด็น คือ 2.1 ความรู้มีลักษณะอย่างไร 2.2 มนุษย์ได้ความรู้มาอย่างไร 2.3 ความรู้มีขอบเขตแค่ไหน 2.4 มีเกณฑ์อะไรในการตรวจสอบความรู้ ว่าตรงกับความเป็นจริง

3. คุณวิทยา หรือ อัคฆวิทยา (Axiology) ศึกษาถึงคุณค่าของชีวิต แบบที่ 3 Encyclopedia Americas มี 5 สาขา 1. อภิปรัชญา (Metaphysics) 2. ญาณวิทยา (Epistemolgy) 3. จริยศาสตร์ (Ethics)