Chapter 13 Project Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 6 Project Management
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
Software Development and Management
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การจัดการความเสี่ยง Risk Management
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
การบริหารโครงการ Project Management
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Continuous Quality Improvement
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 13 Project Management การบริหารจัดการโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์

Topics Risk Management Resource Management Change Management Project Closure

Risk Management Risk หมายถึง ความเสี่ยง ความเสี่ยงที่ว่านี้คือโอกาสที่ก่อให้เกิดความสูญเสียหรือล้มเหลว โดยที่ความเสี่ยงนี้อาจจะเกิดสาเหตุหลายประการเช่น ด้านบุคลากร ด้านเทคโนโลยี บริหารจัดการ ฯลฯ

Risk Management การบริหารจัดการความเสี่ยงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักดังนี้คือ การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) Risk Identification Risk Analysis Risk Prioritization การควบคุมความเสี่ยง (Risk Control) Risk Management Planning Risk Resolution Risk Monitoring

Risk Assessment การประเมินความเสี่ยงเปรียบเสมือนเป็นการค้นหาความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ก่อนที่ปัญหานั้นจะลุกลาม และส่งผลให้โครงการนั้นล้มเหลวได้ โดยในกระบวนการในการประเมินความเสี่ยงจะเริ่มต้นด้วยการ กำหนดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น (Risk Identification) หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์ความเสี่ยงว่าจะส่งผลต่อระบบงานมากน้อยเพียงใด (Risk Analysis) กระบวนการสุดท้ายคือการจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง เพื่อจะได้ทราบถึงว่าความเสี่ยงใดควรจะต้องดำเนินการก่อน-หลัง (Risk Prioritization)

Risk Identification ในการกำหนดความเสี่ยงสามารถจัดทำ Check List เพื่อทำการตรวจสอบความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในโครงการดังนี้ Risk Type Possible Risk Requirements Mismatch Requirement Chang Lack of Customer involvement Excessive Requirement People Personal Shortfalls Skill mismatch/Lack of knowledge Success Model Clashes Technology Technology Change Tools -Inefficient CASE Tools Organizational -Organization restructure/Financial problems Estimation -Underestimated

Risk Analysis การวิเคราะห์ความเสี่ยง สามารถแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ส่วนดังนี้คือ Possibility โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Loss ความเสียหาย หากความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ในลักษณะของ Possibility และ Loss ของแต่ละโครงการมีความแตกต่างกันไปตามโครงการ หากในฐานะผู้จัดการโครงการต้องทำการวิเคราะห์ประเด็นทั้ง 2 และนำมาวิเคราะห์ในรูปแบบของ Risk Exposure

Risk Analysis ยกตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้วย Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10] Risk Exposure 1 Personal Shortfalls 0.5 3 1.5 2 Technology Change 0.3 7 2.1 Requirement Change

Risk Analysis ตารางระดับดัชนีชี้วัด Probability และ Loss Probability Rate Very Low 0.1 Low 0.3 Normal 0.5 High 0.7 Very High 1.0

Risk Analysis ตารางระดับดัชนีชี้วัด Probability Loss Rate Very Low 1 3 Normal 5 High 7 Very High 10

Risk Analysis Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10] Personal Shortfalls 0.5 Normal 3 Low 1.5 2 Technology Change 0.3 7 High 2.1 Requirement Change Very High

Risk Prioritization Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10] Priority 3 Requirement Change 1 Very High 7 High 2 Technology Change 0.3 Low 2.1 Personal Shortfalls 0.5 Normal 1.5

Risk Control การควบคุมความเสี่ยงนั้นเริ่มจากวางแผน Risk Management Planning และ หาทางแก้ไขปัญหา (Risk Resolution) รวมไปถึงการติดตามความเสี่ยง (Risk Monitoring) โดยการควบคุมความเสี่ยงนั้นถือเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งจะเป็นส่วนที่ทำให้แก้ไขติดตามได้ทันท่วงที โดยจะมีกระบวนการดังนี้

Risk Management การวางแผนบริหารจัดการความเสี่ยงนั้น มีเทคนิควิธีในการนำมาใช้วางแผนหลายวิธีด้วยกันคือ Buying Information Risk Avoidance Risk Transfer Risk Reproduction Risk Element Planning Risk Plan Integration

Risk Resolution การจัดการแก้ไขความเสี่ยงนั้น คือ การนำแผนงานที่ได้กำหนดไว้มาทำตาม ขั้นตอนโดยอาจจะมีการกำหนดขั้นตอนที่นำมาใช้ในการช่วยลดความเสี่ยงได้ เช่น อาจจะมีปัญหาเรื่องของบุคลากรขาดแคลน ก็อาจจะมีการจัดหาบุคลากรเพิ่มเติม หรือ บุคลากรไม่มีความรู้ความสามารถพอในการดำเนินการ ก็อาจจะมีการจัดโปรแกรมการอบรมให้กับบุคลากร หรือ ถ้ามีปัญหาเรื่องความต้องการของผู้ใช้ไม่ตรงกันกับผู้พัฒนา ก็อาจจะต้องสร้างต้นแบบของชิ้นงาน (Prototype) แสดงให้ผู้ใช้ทราบการทำงานเพื่อปรับความเข้าใจให้ตรงกัน เป็นต้น

Risk Monitoring หลังจากทำการจัดการแก้ปัญหาความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นแล้ว กระบวนการต่อไปคือ การตรวจสอบและติดตามความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นอีก หรือ อาจจะเกิดความเสี่ยงที่ไม่คาดคิดในขณะดำเนินการก็ได้ ซึ่งในการตรวจสอบและติดตามจะต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกัน ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะได้สามารถหาวิธีการป้องกัน และ แนวทางแก้ไขได้ทันท่วงที

Resource Management ในส่วนของทรัพยากรในการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ต้องบริหารนั้นประกอบด้วย 3 ส่วนหลักดังนี้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร

Hardware & Software การบริหารจัดการด้าน ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ คือ การเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ตลอดระยะเวลาการพัฒนาซอฟต์แวร์ รวมไปถึงการจัดทำ Configuration ของฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ตลอดทั้ง Life Cycle

People การบริหารจัดการบุคลากรนั้นจะต้องเตรียมความพร้อมของบุคลากรในโครงการ โดยมีการจัดการด้านการกำหนดคุณสมบัติ หรือ Qualification ของผู้ที่จะเข้ามาทำงานในหน้าที่ต่างๆในโครงการทั้งด้านความรู้เรื่องเทคนิค หรือ รู้ในเรื่องระบบงาน นอกจากนั้นจะต้องจัดเตรียมผ่ายที่เกี่ยวข้องที่มีความสัมพันธ์ในเชิงการประสานงานการงาน กำหนดหน้าที่ให้แก่บุคลากรอย่างชัดเจน และจัดการบริหารให้การทำงานรวมกันทั้งภายในแต่ละทีมย่อยได้

Change Management ประเด็นของการเปลี่ยนแปลงที่ต้องให้ความสนใจ Requirement Change Technology Change Organization Change Other Issuse

Project Closure การปิดโครงการนั้นเปรียบเสมือนการนำข้อบกพร่องในการทำงานที่ผ่านมาของโครงการ มาทำการวิเคราะห์ ซึ่งสิ่งที่ควรนำมาวิเคราะห์เมื่อโครงการเสร็จสิ้นคือ Preparation Process Product Plan Paper Progress Project Management