การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560 นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
Advertisements

จำนวน style ที่ต้องจัดทำรูปเล่ม จำนวน style ที่ต้องนำมาจัดทำรูปเล่ม Catalogue รวมทั้งหมด 64 style Catalogue ต้องมี 10 หน้า ไซร์ 39.75”x 10.83” ต้องมี
Displaying and Merchandise OTOP Project Co-learning with MK463
ประมวลภาพกิจกรรม สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดกาญจนบุรี ต. ท่าล้อ อ
อาหาร 500 ราย 1 เครื่องดื่ม 144 ราย 2 ผ้าและเครื่องแต่งกาย 1,209 ราย 3 ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก 1,570 ราย 4 การลงทะเบียน OTOP รวม 985 ราย เดิม 638.
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 23 มิถุนายน 2550 Data Updating by ASP มหาวิทยาลัยโยนก.
ONE VISION, ONE IDENTITY, ONE COMMUNITY
การทำ Link E-book.
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย ความพึงพอใจของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ มีต่อการเรียนวิชาโครงการ นางสาวภณิดา ปรัชญชรินกร.
ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบการประเมิน 1. เข้าสู่ home page คณะเกษตรศาสตร์ 2. เลือก AG-MIS รูปที่ 1 รูปที่ 1.
การออกแบบเว็บไซต์ Homepage หมายถึง หน้าแรกของเว็บไซต์
1. สร้างข้อความเชื่อมโยงและจุดลิงค์ ที่หน้าใดๆ 2. ที่ช่อง Link ของพาเนล Properties เครื่องหมาย # แล้วตามด้วยชื่อ page ที่ ต้องการ Link ไป.
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่ตลาด E-Commerce (OTOP Online)
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
การออกแบบแผ่นพับใน การสอน
บทที่ 4 การใช้งาน โปรแกรมประมวลผลคำ
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
Principles of Communication Arts
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
โดย ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว1, ดร. พงษ์ศักดิ์ ฮุ่นตระกูล2
จงยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับออกแบบเว็บไซด์
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
ทีมเยี่ยมเสริมพลัง คปสอ.เขาสมิง วันพุธที่ 3 พ.ค. 60
การทบทวนกระบวนการจัดทำแผน
Rewrite by Burin Rujjanapan Updated:
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
วิธีการเพิ่มกล่อง like แฟนเพจเฟซบุ๊ค ลงในเว็บ Wordpress ของเรา
(KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
บทสรุป การออกแบบฟอร์ม
ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
ทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี
ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
การมอบนโยบายการขับเคลื่อน
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
Inform Consent Form โครงการ RV พ.ย.58.
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
(Flowchart) ผังงาน.
การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560 นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560

เนื้อหานำเสนอ - เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนฯ 3 เรื่อง - ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนฯ 6 ตัว - การประเมินทุนหมุนเวียนตามเกณฑ์กระทรวงการคลัง - การบริหารงบประมาณ งบบริหาร สนง.เลขาฯ - การใช้จ่ายเงินทุนหมุนเวียน - การใช้จ่ายเงินอุดหนุน 9 สิงหาคม 2560

เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 1.การรับสมัครสมาชิกประเภทบุคคลธรรมดา - จังหวัดบุรีรัมย์ เป้าหมาย จำนวน 60,155 คน - ผลงาน 34,080 คน ร้อยละ 56.65 - อำเภอที่ครบตามเป้าหมาย 9 อำเภอ - อำเภอที่ยังไม่ครบตามเป้าหมาย 14 อำเภอ - ผลการดำเนินงานระดับประเทศ อันดับที่ 42 9 สิงหาคม 2560

เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 2.การรับสมัครสมาชิกประเภทองค์กร - จังหวัดบุรีรัมย์ เป้าหมาย จำนวน 46 องค์กร - ผลงาน 133 องค์กร ร้อยละ 289 - อำเภอที่ครบตามเป้าหมาย 23 อำเภอ - ผลการดำเนินงานระดับประเทศ อันดับที่ 13 9 สิงหาคม 2560

เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 3.การบริหารหนี้ค้างชำระตามสัญญาลดลงร้อยละ 60 - หนี้ค้างชำระระหว่างปี 2556-2560 จำนวน 10,540,127 บาท - ผลงานการเก็บหนี้ จำนวน 6,324,076.75 ร้อยละ 60 - ผลการดำเนินงานระดับประเทศ อันดับที่ 38 9 สิงหาคม 2560

ตัวชี้วัดผลผลิตของแผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2560 - 2564 หน่วยนับ ฐานข้อมูล 2559 ค่าเป้าหมาย หน่วย งาน 2560 2561 2562 2563 2564 1. จำนวนโครงการที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอนุมัติได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ โครงการ 1,500 (46) 3,000 4,500 6,000 7,000 สกส./จังหวัด/กทม. 2. จำนวนกลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา กลุ่ม 1,520 3. จำนวนผู้นำสตรีได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิต ราย 54,000 (1,450) 4. จำนวนผลิตภัณฑ์ของสตรีได้รับการพัฒนา เป็น OTOP ผลิตภัณฑ์ 295 (5) 5. จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มี ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน 878 (23) 6. ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักการบริหารกองทุนผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด คะแนน 4 Page 22

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 1จำนวนโครงการที่กองทุนฯอนุมัติได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ - เป้าหมาย จว. 46 กลุ่ม อำเภอละ 2 กลุ่ม - อำเภอที่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย 8 อำเภอ สามารถจัดตั้งกลุ่มอาชีพและเครือข่ายอาชีพได้ ได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ หมายถึง การได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หรือจากหน่วยงานหรือบุคคลอื่น 9 สิงหาคม 2560

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนกลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา คำจำกัดความ กลุ่มอาชีพสตรี หมายถึง กลุ่มอาชีพที่ได้กู้เงินจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปดำเนินกิจกรรม และได้ขึ้นทะเบียนกลุ่มอาชีพสตรีในระบบคลังข้อมูลอาชีพของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี การได้รับการพัฒนา หมายถึง กลุ่มอาชีพสตรี ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ ฯลฯ เป้าหมายระดับจังหวัด จำนวน 35 กลุ่ม กระจายเป้าหมาย อำเภอละ 2 กลุ่ม จำนวน 12 อำเภอ สามารถดำเนินการได้ Page 24

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 2 กลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา (ต่อ) - เป้าหมาย จว. 35 กลุ่ม อำเภอละ 2 กลุ่ม - ผลการดำเนินงาน อำเภอกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนที่โอนเงินแล้ว จำนวน 12 อำเภอ จำนวน 68 โครงการ ทุกโครงการต้องจัดตั้งกลุ่มอาชีพ (มีกลุ่มใหม่+กลุ่ม OTOPเดิม) - ภารกิจสำนักงานเลขาฯ รายงานผลการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ - อำเภอที่ยังไม่มี : สนับสนุนสมาชิกกู้ยืมทุนหมุนเวียน 9 สิงหาคม 2560

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนผู้นำสตรีได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิต คำจำกัดความ ผู้นำสตรี หมายถึง อาสาสมัครผู้ประสานงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีหมู่บ้าน/ชุมชน คณะทำงาน ขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกระดับ คณะกรรมการกลุ่มอาชีพสตรีที่ขึ้น ทะเบียนกับกองทุนฯ คณะกรรมการสมาชิกประเภทองค์กรสตรี การพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการ หมายถึง การบริหารจัดการของกลุ่ม องค์กร ของสตรี ให้มีประสิทธิภาพ การพัฒนาศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การพัฒนาตนเองด้านทักษะชีวิต ด้านสุขภาวะ อนามัย ด้านสวัสดิการชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ Page 25

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนผู้นำสตรี(อาสาสมัคร/คณะทำงานขับเคลื่อนตำบล/กลุ่มอาชีพ) ได้รับการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการและคุณภาพชีวิต (ต่อ) - เป้าหมายระดับจังหวัด จำนวน 1,450 คน - เป้าหมาย อำเภอละ 50-100 คน - ผลการดำเนินงาน สามารถพัฒนาอาสาสมัคร/คณะทำงานขับเคลื่อนตำบล จากงบบริหารการฝึกอบรมต่างๆ จำนวน 4,479 คน ร้อยละ 308 - ผลการดำเนินงานผ่านตัวชี้วัดทุกอำเภอ 9 สิงหาคม 2560

ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 4 จำนวนผลิตภัณฑ์สตรีของได้รับการพัฒนาเป็น OTOP คำจำกัดความ ผลิตภัณฑ์ของสตรี หมายถึง ผลิตภัณฑ์ของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่ได้รับเงินกู้จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปประกอบอาชีพ การพัฒนาเป็น OTOP หมายถึง ผลิตภัณฑ์สตรี ที่ได้รับการพัฒนาและสามารถ นำไปขึ้นทะเบียนเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP กับกรมการพัฒนาชุมชน (กรณี ปีที่ไม่มีการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ยกเว้นการประเมินตัวชี้วัดในปีนั้น) หมายเหตุ จังหวัดขนาดเล็ก 34 จังหวัด จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ จำนวน 102 ผลิตภัณฑ์ จังหวัดขนาดกลาง 22 จังหวัด จำนวน 4 ผลิตภัณฑ์ จำนวน 88 ผลิตภัณฑ์ จังหวัดขนาดใหญ่ 21 จังหวัด จำนวน 5 ผลิตภัณฑ์ จำนวน 105 ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสิ้น 295 ผลิตภัณฑ์ Page 26

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 4 จำนวนผลิตภัณฑ์ของสตรีได้รับการพัฒนาเป็น OTOP - เป้าหมายทั้งหมด 5 ผลิตภัณฑ์ - เป้าหมาย อำเภอละ 1 ผลิตภัณฑ์ - ผลการดำเนินงาน อำเภอกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนที่โอนเงินแล้ว จำนวน 12 อำเภอ ต้องสนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพทุกโครงการ และเกิดผลิตภัณฑ์ OTOP ใหม่ อย่างน้อยอำเภอละ 1 ผลิตภัณฑ์ - ภารกิจสำนักงานเลขา : สนับสนุนสมาชิกกู้ยืมทุนหมุนเวียน จัดตั้งกลุ่มอาชีพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพเป็น OTOP 9 สิงหาคม 2560

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 5 จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน คำจำกัดความ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ หมายถึง กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กองทุนต่าง ๆในชุมชน บริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด และภาคีการพัฒนาภาครัฐ เอกชน ประชาชน จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุน หมายถึง - กลุ่มอาชีพที่สมาชิกกองทุนกู้เงินประเภททุนหมุนเวียนของกองทุนไปประกอบอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ - กลุ่มองค์กรสตรีที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนประเภทอุดหนุน สำหรับการพัฒนาศักยภาพสตรี เครือข่ายสตรี องค์กรสตรี ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเฝ้าระวังปัญหาของสตรี การสนับสนุน หมายถึง การสนับสนุนกิจกรรมของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เช่น ด้านงบประมาณ ด้านวิชาการ ด้านการตลาด ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดการความรู้ ฯลฯ Page 27

ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตัวชี้วัดที่ 5 จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน จำนวน 23 กลุ่ม - เป้าหมาย อำเภอละ 1 กลุ่ม - ผลการดำเนินงาน อำเภอกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนที่โอนเงินแล้ว จำนวน 12 อำเภอ สนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ และประสานงานขอรับการสนับสนุนจากภาคีเพื่อพัฒนากลุ่ม - ภารกิจสำนักงานเลขา : สนับสนุนสมาชิกกู้ยืมทุนหมุนเวียน การจัดตั้งกลุ่ม และประสานภาคีสนับสนุน 9 สิงหาคม 2560

การประเมินผลทุนหมุนเวียนตามเกณฑ์กระทรวงการคลัง ( 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด) เป้าหมายต้องผ่านเกณฑ์ ระดับค่าคะแนนเฉลี่ย 4.6 ตัวชี้วัดที่ 6 ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักการบริหารกองทุนผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่ กรมบัญชีกลางกำหนด คำจำกัดความ เกณฑ์มาตรฐานตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด หมายถึง เกณฑ์การประเมินผลทุนหมุนเวียนที่กรมบัญชีกลางกำหนดในแต่ละปีงบประมาณ ซึ่งจะประกอบด้วย เกณฑ์การประเมินผล 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1. ด้านการเงิน 2. ด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. ด้านการปฏิบัติการ 4. ด้านการบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักเต็ม 5 คะแนน Page 28

การประเมินผลทุนหมุนเวียนตามเกณฑ์กระทรวงการคลัง ( 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด) เป้าหมายต้องผ่านเกณฑ์ ระดับค่าคะแนนเฉลี่ย 4.6 1.1 ร้อยละการชำระคืนเงินกู้ยืมที่ค้างชำระ ได้เกินกว่าร้อยละ 60 ระดับค่าคะแนน 5 (บุรีรัมย์ผ่านเกณฑ์) 1.2 ร้อยละการให้กู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนเทียบกับแผนที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96 ต้องได้จำนวน 58 ล้านบาท จึงได้ระดับค่าคะแนน 5 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสีย คือสมาชิกที่กู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนทุกคน ดำเนินการเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 เป้าหมายระดับค่าคะแนน 5 3.1 การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังกำหนด เป้าหมายระดับค่าคะแนน 5 (กรมฯ ยังไม่แจ้งเกณฑ์) 3.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายระดับค่าคะแนน 5 (กรมฯกำหนดกระบวนการ จว.แจ้งเวียนอำเภอ มีเอกสารแนบในการประชุมวันนี้ : จะอธิบายเป็นการเฉพาะ) อีก 6 ตัวชี้วัด เป็นการดำเนินการระดับจังหวัด และส่วนกลาง 9 สิงหาคม 2560

การบริหารงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน 1.การเบิกจ่ายงบบริหารกองทุนฯ - วงเงินงบประมาณ ทั้งหมด 5,326,620 บาท - ผลการเบิกจ่าย 3,199,496 บาท ร้อยละ 60 2.การเบิกจ่ายเงินทุนหมุนเวียน - เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96 ต้องได้จำนวน 58 ล้านบาท จึงได้ระดับค่าคะแนน 5 - ผลการดำเนินงาน 9,449,700 บาท ร้อยละ 15.77 3.การเบิกจ่ายเงินอุดหนุน - เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 96 จำนวน 4,800,000 บาท จึงได้ระดับค่าคะแนน 5 - ผลการดำเนินงาน ยังไม่มีการเบิกจ่าย สรุป.- ผลการเบิกจ่ายรวมทั้ง 3 ประเภท 12,649,196 บาท ร้อยละ 17.99 อันดับที่ 41 ระดับประเทศ 9 สิงหาคม 2560

การบริหารงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน ภารกิจมอบหมาย 1.การเบิกจ่ายงบบริหารกองทุนฯ - ให้ประมาณการค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกได้เสร็จสิ้นภายวันที่ 15 กันยายน 2560 และรายงานจังหวัด ภายในวันที่ 9 สิงหาคม 2560 2.การเบิกจ่ายเงินทุนหมุนเวียน - ทุกอำเภอจัดเสนอโครงการฯ ให้ครบวงเงินที่จัดสรรฯ ผ่านการกลั่นกรองตามระบบทุกขั้นตอนและเอกสารครบถ้วน สมบูรณ์ ส่งถึงจังหวัดภายในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 3.การเบิกจ่ายเงินอุดหนุน - - ทุกอำเภอจัดเสนอโครงการฯ ให้ครบวงเงินที่จัดสรรฯ ผ่านการกลั่นกรองตามระบบทุกขั้นตอนและเอกสารครบถ้วน สมบูรณ์ ส่งถึงจังหวัดภายในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 9 สิงหาคม 2560

ข้อทักท้วง ข้อสังเกต การดำเนินงาน 1.ผู้แทนคณะทำงานขับเคลื่อนตำบล ที่เป็นตัวแทนอำเภอ บางอำเภอไม่ได้เชิญ เข้าร่วมประชุมกับคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง ระดับอำเภอ ทำให้ไม่ทราบกระบวนการพิจารณาโครงการมาจากระดับอำเภอ ไม่สามารถชี้แจง อธิบาย ตอบข้อซักภาม โครงการของอำเภอตนเองกับคณะทำงานขับเคลื่อนระดับจังหวัดได้ 2. ผู้แทนคณะทำงานขับเคลื่อนตำบล ที่เป็นตัวแทนอำเภอ บางอำเภอ ไม่มีประสบการณ์ในการจัดทำเอกสาร ตรวจสอบเอกสาร การพิจารณากลั่นกรอง เพื่อขอกู้ยืมเงินมาเลย เนื่องจากในพื้นที่ตำบล ตนเอง ไม่ได้มีโครงการเสนอขอกู้ยืมเงิน ไม่ได้จัดให้มีสถานการณ์ กรณีศึกษา เพื่อเพิ่มทักษะความรู้ 3.พัฒนากร ที่รับผิดชอบในเชิงพื้นที่ตำบล บางตำบลไม่ได้ทำหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษา ตามโครงสร้างกลไกการดำเนินงานของกองทุนฯ 4.กพสจ.จัดเสนอโครงการขอรับเงินอุดหนุน 200,000 บาท เพื่อพัฒนา คณะทำงานขับเคลื่อนตำบล ๆ ละ 3 คน ในการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานกองทุนฯ การขี้ยนโครงการ จัดทำเอกสาร วิเคราะห์โครงการ บริหารโครงการ บริหารหนี้ ติดตาม 9 สิงหาคม 2560