เอกสารบรรยายเกี่ยวกับข้อบังคับฯ ระดับบัณฑิตศึกษา โดย งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 สิงหาคม 2559 ณ ห้อง QS 3301 มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาจารย์ประจำหลักสูตร ประเด็น ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง ปริญญาเอก อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาของหลักสูตรที่เปิดสอน จำนวน ไม่จำกัด วุฒิการศึกษา ป.โท หรือเทียบเท่า ป.เอก หรือเทียบเท่า หรือป.โท และรองศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง 3 รายการ (มีเงื่อนไขพิเศษกรณีอาจารย์รับเข้าใหม่ที่จบ ป.เอก) 3 รายการ 3 รายการ (มีเงื่อนไขพิเศษกรณี อาจารย์รับเข้าใหม่ที่จบ ป.เอก)
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประเด็น ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง ปริญญาเอก อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มีภาระหน้าที่ในการบริหาร/พัฒนาหลักสูตร และควบคุมคุณภาพการจัดการเรียนการสอน จำนวน 3 คน 5 คน วุฒิการศึกษา ป.เอก หรือเทียบเท่า หรือป.โท และรองศาสตราจารย์ ป.เอก หรือเทียบเท่า หรือป.โท และศาสตราจารย์ ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง 3 รายการ (มีเงื่อนไขพิเศษกรณีอาจารย์รับเข้าใหม่ที่จบ ป.เอก) 3 รายการ 3 รายการ (มีเงื่อนไขพิเศษกรณี อาจารย์รับเข้าใหม่ที่จบ ป.เอก)
ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง อาจารย์ผู้สอน ประเด็น ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง ปริญญาเอก อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจำหรืออาจารย์พิเศษที่มีคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน วุฒิการศึกษา ป.โท หรือเทียบเท่า ป.เอก หรือเทียบเท่า หรือป.โท และรองศาสตราจารย์ ประสบการณ์สอน มี ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง 1 รายการ (ยกเว้นอาจารย์ รับเข้าใหม่ที่จบ ป.เอก) 1 รายการ อาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์พิเศษ กำหนดให้อาจารย์พิเศษสามารถมีชั่วโมงสอนได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ประธานที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา (ถ้ามี) คุณสมบัติคณะกรรมการที่ปรึกษา เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรหรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก - ประธานที่ปรึกษา ต้องเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรของมหาวิทยาลัยนเรศวร และได้รับ การแต่งตั้งเป็นอาจารย์ประจำบัณฑิตศึกษา มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำ ปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย - กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี) ที่เป็นอาจารย์ประจำ ต้องเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรของมหาวิทยาลัยนเรศวร และได้รับการแต่งตั้งเป็นอาจารย์ประจำบัณฑิตศึกษา มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย - กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง
การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จำนวนคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ นิสิตระดับ ประธานที่ปรึกษาฯ กรรมที่ปรึกษาฯ (ถ้ามี) ปริญญาโท 1 1-2 คน ปริญญาเอก 1 1-3 คน
อาจารย์ประจำหลักสูตร ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ อาจารย์ประจำหลักสูตร ภาระงานดูแลนิสิต คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า มีผลงานตามเกณฑ์ ไม่เกิน 5 คน/ภาคการศึกษา คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป มีผลงานตามเกณฑ์ ไม่เกิน 10 คน/ภาคการศึกษา คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป มีผลงานตามเกณฑ์ คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป มีผลงานตามเกณฑ์ หากมีความจำเป็นต้องดูแลนิสิตเกิน 10 คน แต่ต้องไม่เกิน 15 คนให้เสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา อาจารย์ประจำหลักสูตร 1 คนให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระของนิสิตปริญญาโท กรณี เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาทั้งวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระให้คิดสัดส่วนจำนวนนิสิตที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คน เทียบได้กับจำนวนนิสิตที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน แต่ต้องไม่เกิน 15 คนต่อภาคการศึกษา ไม่เกิน 15 คน/ภาคการศึกษา
คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นิสิตระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ประกอบด้วย • ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ • กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี) • คณาจารย์บัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมแล้วไม่น้อยกว่า 3 และไม่เกิน 6 คน ทำหน้าที่ ประธาน กรรมการ และเลขานุการ
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ นิสิต ประธานสอบฯ กรรมการสอบฯ คุณสมบัติกรรมการสอบฯ ปริญญาเอก ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกมหาวิทยาลัย ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี) อาจารย์ประจำหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน - กรรมการที่เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดฯ 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการ ต้องเป็นผลงานวิจัย - กรรมการที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ (ต่อ) นิสิต ประธานสอบฯ กรรมการสอบฯ คุณสมบัติกรรมการสอบฯ ปริญญาโท อาจารย์ประจำหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ กรรมการที่ปรึกษาวิทยาพนธ์ (ถ้ามี) อาจารย์ประจำหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน - กรรมการที่เป็นอาจารย์ประจำ ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดฯ 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการ ต้องเป็นผลงานวิจัย - กรรมการที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท ลำดับที่ เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา แผน ก แผน ข แบบ ก1 แบบ ก2 1 มีระยะเวลาการศึกษาตามกำหนด 2 ลงทะเบียนครบตามหลักสูตร 3 ผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ 4 ศึกษารายวิชาครบตามหลักสูตร 5 ผลการศึกษาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท (ต่อ) ลำดับที่ เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา แผน ก แผน ข แบบ ก1 แบบ ก2 6 เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านปากเปล่าขั้นสุดท้าย 7 ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ตามข้อบังคับฯ 8 ผลงาน IS นำไปเผยแพร่ฯ ตามข้อบังคับฯ 9 สอบผ่านการสอบประมวลความรู้
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก ลำดับที่ เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา แบบ 1 แบบ 2 1 มีระยะเวลาการศึกษาตามกำหนด 2 ลงทะเบียนครบตามหลักสูตร 3 สอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษ 4 สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ 5 ศึกษารายวิชาครบตามหลักสูตร 6 ผลการศึกษาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก (ต่อ) ลำดับที่ เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา แบบ 1 แบบ 2 7 ผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ตามข้อบังคับฯ 8 เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านปากเปล่าขั้นสุดท้าย
การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ที่จะใช้เป็นเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา นิสิตต้องผ่านการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์และได้รับอนุมัติโครงร่าง วิทยานิพนธ์จากบัณฑิตวิทยาลัยแล้วจึงสามารถนำผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ไปตีพิมพ์เผยแพร่ และนำผลงานดังกล่าวมาเสนอบัณฑิตวิทยาลัย สำหรับเป็นหลักฐานการผ่านเกณฑ์ในการสำเร็จการศึกษาได้ การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องอยู่ในรูปบทความวิจัยที่มีองค์ประกอบเป็นไปตามมาตรฐานการตีพิมพ์ผลงานวิจัย ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานที่นำไปตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์วิชาการต้องมีรายชื่ออยู่ในประกาศ กพอ. คือ ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ฐานข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index Center-TCI)
การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ที่จะใช้เป็นเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (ต่อ) 4. นิสิตปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 แผน ก แบบ ก 1 ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์โดยเป็นบทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ (กพอ.) ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ (กพอ.) หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยเป็นบทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว
การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ที่จะใช้เป็นเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (ต่อ) 4. นิสิตปริญญาโท แผน ข รายงานการค้นคว้าอิสระหรือส่วนหนึ่งของรายงานการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการ โดยเป็นบทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว
การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ที่จะใช้เป็นเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา (ต่อ) 5. นิสิตปริญญาเอก แบบ 2 แบบ 1 ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์โดย เป็นบทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ (กพอ.) อย่างน้อย 2 เรื่อง ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์โดยเป็นบทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ (กพอ.)
การวัดและประเมินผลวิทยานิพนธ์ รายละเอียด กฎระเบียบ ข้อ 23 การวัดและประเมินผลการศึกษา (1) มหาวิทยาลัยให้มีการประเมินผลการศึกษาอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง (2) มหาวิทยาลัยใช้ระบบระดับขั้นและค่าระดับขั้นในการวัดและประเมินผล นอกจากกรณีต่อไปนี้ ให้กำหนดการวัดและประเมินผลด้วยอักษร S หรือ U คือ (ก) รายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต (ข) การสอบประมวลความรู้/การสอบวัดคุณสมบัติ (ค) สัมมนา (ง) วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559
การวัดและประเมินผลวิทยานิพนธ์ (ต่อ) รายละเอียด กฎระเบียบ ข้อ 23 การวัดและประเมินผลการศึกษา (6) อักษร P แสดงว่า รายวิชานั้นยังมีการเรียนการสอนต่อเนื่องอยู่ ยังไม่มีการวัดและประเมินผลภายในภาคการศึกษาที่ลงทะเบียน โดยอักษร P จะถูกเปลี่ยนเมื่อได้รับการวัดและประเมินผลแล้ว ทั้งนี้ ให้ใช้อักษร P ในกรณีต่อไปนี้ (ก) เฉพาะบางรายวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ข) การจัดทำวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ที่เป็นรายวิชาสุดท้ายยังไม่สิ้นสุด และไม่สามารถประเมินผลด้วยอักษร S หรือ U ได้ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559
Questions?