บทที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน แนวความคิดของการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นเครื่องมือ ที่มีความสำคัญต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน Roadmap of human resource appraisal การประเมิน การวัดผล ผลการวัด ผลงานได้มาตรฐาน ดีสมควรได้รับการพิจาณาเลื่อนตำแหน่ง
การประเมินผลการปฏิบัติงานคืออะไร - คือการตีค่าของพนักงานจากผลการปฏิบัติงานทำงานผ่านมาแล้ว - คือการวินิจฉัยค่าของผลงานพนักงานเมื่อเปรียบกับมาตรฐานการปฏิบัติงาน(JD.)
- เป็นการใช้เครื่องมือเพื่อการตีราคาของผลงาน เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน สิ่งต้องการประเมิน คือสมรรถนะ(Competency )ของพนักงานประกอบไปด้วย ความรู้ (Knowledge)ที่เกี่ยวกับงานในหน้าที่และสิ่งที่เกี่ยวข้องงานในหน้าที่ ทักษะ (Skill) คือสิ่งที่องค์กรต้องการให้ “ทำ” เช่นทักษะด้าน ICT ทักษะด้านเทคโนโลยีการบริหารสมัยใหม่ เป็นสิ่งที่ต้องผ่านการเรียนรู้ และฝึกฝนเป็นประจำจนเกิดเป็นความชำนาญในการใช้งาน พฤตินิสัยที่พึงปรารถนา (Attiributes) คือสิ่งที่องค์กรต้องการให้ “เป็น” เช่น ความใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรักในองค์กร และความมุ่งมั่นในความสำเร็จ ผลสัมฤทธิ์ ตามเป้าหมาย
ประเมินความสำเร็จตามภารกิจเป็นการประเมินภาพรวม 1. องค์การ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินความสำเร็จตามภารกิจเป็นการประเมินภาพรวม 1. องค์การ การประเมินการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ 2. พนักงาน
4. มีระบบและแบบแผนที่แน่นอน หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ควรจะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดีขึ้น 2. ยึดเป้าหมายและมาตรฐานการประเมิน 3. ไม่ควรยึดเอาความรู้สึกส่วนตัวเป็นที่ตั้ง 4. มีระบบและแบบแผนที่แน่นอน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.การประเมินที่เน้นผลลัพธ์ของงาน 2.การประเมินโดยยึดเป้าหมายขององค์การเป็นหลัก 3. การประเมินโดยพนักงานมีส่วนร่วม
ความเป็นธรรมทางการบริหาร วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน การเคลื่อนไหวด้านกำลังคน การพัฒนาและฝึกอบรม จ่ายค่าตอบแทน การจัดเก็บข้อมูล ความเป็นธรรมทางการบริหาร
ความสำคัญของการประเมิน การบังคับบัญชา พนักงาน องค์การ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้อยู่ใต้การบังคับบัญชา เป็นแนวทางการพัฒนาตนเอง การกำหนดแผนงานด้านกำลังคน
ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน วางแผน 3.การจ่ายค่าตบแทน 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
1.ผู้ถือหุ้นหรือ เจ้าของกิจการ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงานทางธุรกิจ 1.ผู้ถือหุ้นหรือ เจ้าของกิจการ วัตถุประสงค์เพื่อ - ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคนโดยรวม
วัตถุประสงค์ใช้เป็นข้อมูล 2. ผู้ประเมินผล การปฏิบัติงาน - กำหนดค่าตอบแทน วัตถุประสงค์ใช้เป็นข้อมูล -ควบคุมการบริหาร - พัฒนาระบบการบริหารบุคลากร
-เพื่อทราบจุดแข็งและจุดอ่อน 3. ผู้ถูกประเมิน มีวัตถุประสงค์ -เพื่อทราบจุดแข็งและจุดอ่อน -เพื่อรับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง
ขั้นตอนการบริหารการประเมินผลปฏิบัติงาน 1.การกำหนดนโยบาย ข้าราชการมีการประเมินผลปีละ 2 ครั้ง -การพิจารณาความดีความชอบโดยยึดผลการปฏิบัติงานเป็นหลักการที่สำคัญ
2 การวางแผนประเมิน 2.1 วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์และนโยบายขององค์การ 2.2 กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน เพื่อเลื่อนเงินเดือนประจำปี, การจ่ายโบนัส, การเลื่อนตำแหน่ง,การให้พ้นจากงานหรือตำแหน่ง 2.3 กำหนดระยะเวลาในการประเมิน จะกำหนดไว้ตายตัว,ประเมินเป็นระยะๆ, รวมทั้งกำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล
3. การกำหนดตัวชี้วัดและปัจจัยที่จะประเมิน 3.1 ตัวชี้วัด และการกำหนดปัจจัยที่จะประเมิน ตัวชี้วัดหมายถึง ค่าที่สังเกตได้ ซึ่งใช้วัดหรือสะท้อนลักษณะการบริหารงานบุคคล การกำหนดปัจจัยที่จะประเมินหมายถึงสิ่งที่ต้องการจะวัดและประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น วัดความรู้,ทักษะและพฤติกรรมที่องค์การพึงประสงค์
ปัจจัยในการประเมินผลการปฏิบัติงานตัวชี้วัดและเกณฑ์การเทียบวัด Benchmarking คุณภาพของงาน ผลิตได้ตรงมาตรฐานเปรียบเทียบ มาตรฐานอุตสาหกรรม ปริมาณงาน -เป้าหมายของปริมาณงาน - ตรงตามคำสั่งของลูกค้า เป้าหมายขององค์การและใบสั่งซื้อของลูกค้า ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน งานเสร็จทันเวลาที่กำหนดตามเวลาที่ลูกค้า นัดหมาย เปรียบเทียบกับบุคคลอื่นใบนัดหมายของลูกค้าหรือเวลามาตรฐานของหน่วยงาน
3.2 วิธีการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของพนักงาน 3.2 วิธีการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของพนักงาน การศึกษาการทำงานของพนักงานในกระบวนการผลิต การกำหนดจากทำงานของพนักงานแต่ละบุคคลในแต่ละชั่วโมงหรือในแต่ละวัน
ผลงานและพฤติกรรมการทำงาน 4. การกำหนดเกณฑ์การประเมิน 3 แนวทางคือ ผลงาน พฤติกรรมการทำงาน ผลงานและพฤติกรรมการทำงาน ผลลัพธ์สุดท้ายของการปฏิบัติงาน - เชิงปริมาณ - เชิงคุณภาพ - ความชำนาญ -ความคิดริเริ่ม -ความพยายามในการปฏิบัติงาน -การให้ความร่วมมือในการทำงาน เป็นการประเมินแบบผสมผสาน
ผู้บังคับบัญชาโดยตรง 5. การกำหนดผู้ทำการประเมิน ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย ผู้บังคับบัญชาโดยตรง เป็นผู้ที่มีความใกล้ชิดกับผู้ถูกประเมินมากที่สุด
ผู้อยู่ใต้การบังคับบัญชา การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย ผู้อยู่ใต้การบังคับบัญชา ทราบลักษณะการบริหารของผู้บังคับบัญชา เป็นเช่นใด เผด็จการประชาธิปไตย หรืออื่น ๆ
ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย เพื่อนร่วมงาน การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย เพื่อนร่วมงาน เป็นกลุ่มที่มีความรอบรู้เกี่ยวกับผู้ถูกประเมินแต่จะต้อง มีเงื่อนไขความเป็นทีมที่ดีต่อกันและมีความเป็นธรรม
ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) การประเมินตัวเอง เป็นวิธีการที่ดี แต่จะต้องมีความซื่อสัตย์และมีหลักฐาน เช่น ต้องมีแฟ้มสะสมผลงานประกอบการประเมิน
การประเมินโดยกลุ่มหรือคณะกรรมการ การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย การประเมินโดยกลุ่มหรือคณะกรรมการ เพื่อการใช้วิจารณญาณของบุคคลหลายกลุ่ม เช่น ผู้บังคับบัญชาจากหน่วยงานอื่น หรือบุคคลที่มีความเหมาะสมในเป็นคณะกรรมการทำการประเมิน
ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ลูกค้า ส่วนใหญ่มักจะใช้การประเมินในธุรกิจบริการที่ต้อง ตอบสนองความต้องการของลูกค้า เช่น งานธนาคาร โรงแรม หรือธุรกิจบริการอื่น ๆ
6.การเลือกเทคนิคหรือวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6.1 การประเมินด้านพฤติกรรมการแสดงออกด้วยการกระทำ ตัวชี้วัด:ความกระตือรือร้น การวางแผน การวางระบบการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบ
ความกระตือรือร้นในการทำงาน ตัวชี้วัด : ทำงานทันที่ที่ได้รับมอบหมาย ตัวชี้วัด : ทำงานทันที่ที่ได้รับมอบหมาย : ความรีบเร่งในการทำงาน ความเอาใจใส่ต่องานที่รับผิดชอบ คอยติดตามงานที่ได้รับมอบหมายอยู่เสมอ ตัวชี้วัด :
เทคนิคการประเมินด้านพฤติกรรม การใช้เครื่องมือในการประเมิน
ประเมินด้วยขีดขนาดมาตรา ดูหน้าที่ 220 ประกอบ ความคิดริเริ่ม ตัวชี้วัด: การเสนอผลงานใหม่ๆ มีการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ
การอธิบายจะคำบรรยายแบบปลายเปิด การประเมินแบบพรรณนา ดูหน้าที่ 221 ประกอบ การอธิบายจะคำบรรยายแบบปลายเปิด
การประเมินแบบจับคู่เปรียบเทียบ ดูหน้าที่ 222 ประกอบด้วย
การประเมินโดยตรวจสอบพฤติกรรม ดูหน้าที่ 224 ประกอบ
การประเมินโดยวิธีการกระจายเป็นกลุ่ม ดูหน้าที่ 225 ประกอบ
6.2 การประเมินโดยเน้นผลลัพธ์ 4.2.1 พิจารณาจากเป้าหมายที่กำหนด -KPI : Key Performance Indicator - วัตถุประสงค์
ปัญหาการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ปัญหาด้านวิสัยทัศน์ของผู้เกี่ยวข้อง ผู้ประเมิน ผู้ถูกประเมิน ผู้ใช้ผลการประเมิน นักวิชาการผู้สนใจการประเมิน 2.ปัญหาด้านเทคนิควิธีการประเมิน แหล่งข้อมูลการประเมิน ตัวแปรหรือดัชนีที่จะวัดเพื่อการประเมิน วิธีวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้วัดและเก็บข้อมูล
ปัญหาการประเมินผลการปฏิบัติงาน(ต่อ) 4.อื่นฯที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน การตระหนักในคุณค่าของการประเมิน การใช้วิธีการประเมิน ความมีอคติส่วนตัวของผู้ทำการประเมินมีความสำคัญ ขาดความร่วมมือจากผู้ถูกประเมิน 3. ปัญหาปัจจัยพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ สื่อ อุปกรณ์และคู่มือ แผนการปฏิบัติงาน