ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook for Teacher) นิพนธ์ เบญจกุล ผู้อำนวยการภารกิจตรวจติดตามและประเมินผลการบริหารงานบุคคล สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูล (data) ต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมีการประมวลหรือวิเคราะห์ผลสรุปด้วยวิธีการต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์กัน ทำให้เกิด 1. ให้ความรู้ 2. ทำให้เกิดความคิดและความเข้าใจ 3. ทำให้เห็นสภาพปัญหา สภาพการเปลี่ยนแปลงว่าก้าวหน้าหรือตกต่ำ 4. สามารถประเมินค่าได้ โลกปัจจุบัน ใช้ข้อมูลในการ(1)วางแผน (2)ตัดสินใจ (3)ดำเนินงาน และ(4)ประเมินผลงาน ในเกือบจะทุกเรื่อง การมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ....เดิมก็มีระบบสารสนเทศเหมือนกันครับ แต่....ในมิติของผู้ประเมินไม่ใช่มิติของผู้รับการประเมิน (ครู) ผู้ประเมินจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลหลักฐานตั้งแต่เริ่มต้นจนมีมติว่า ได้ หรือ ตก เพราะอะไรครับ (อย่างน้อยเพื่อเป็นหลักฐานหากมีการร้องเรียน หรือฟ้องร้อง ...แต่จริงๆ เพื่อนำไปสู่การประเมินความคุ้มค่า สำนักงาน ก.ค.ศ. ได้เก็บรวบรวมข้อมูลมาโดยตลอด จนวันหนึ่ง... ได้พัฒนาระบบประเมินใหม่ ก่อนที่จะมีระบบการประเมินรูปแบบนี้ คือ การประเมินสภาพจริง (ว.5) ต่อมาเห็นข้อดีข้อจำกัดของ ว.5 เลยคิดพัฒนาขึ้นมาใหม่ ตอนนั้นเรียก เกณฑ์ PA ประเมินจากของจริง สุกงอมเต็มที่ ท่านรัฐมนตรีว่าการฯ เข้ามา ท่านมองว่า ยังไม่สมบูรณ์ ให้ใช้เวลา 4 เดือน ปรับปรุงเกณฑ์ที่มีรากฐานมาจากเกณฑ์ PA มาเป็นเกณฑ์ฯนี้ แต่มีการเพิ่มเติมที่สำคัญคือ ......ให้ครูบันทึก(1)การปฏิบัติงาน/(2)การพัฒนาตนเอง/(3)การพัฒนาการศึกษา อย่างต่อเนื่อง โดยส่งสัญญาณให้ สำนักงาน ก.ค.ศ. จัดทำ logbook ให้กับครูไว้เพื่อการบันทึกข้อมูลใช้ในการข้อประเมินให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะ
LOGBOOK ? e-Portfolio?
การบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงาน.... LOGBOOK? การบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงาน....
แฟ้มเก็บหลักฐาน ผลงานในรูป อิเล็กทรอนิกส์.... e-Portfolio? แฟ้มเก็บหลักฐาน ผลงานในรูป อิเล็กทรอนิกส์....
Logbook สำหรับการประเมินวิทยฐานะใหม่ ระบบทะเบียนประวัติ (กคศ.16) ระบบประเมินการ ปฏิบัติงาน คุณสมบัติ ตามเกณฑ์ประเมิน ผลการประเมินการปฏิบัติงาน 5 ปี การอบรมพัฒนาตนเอง PLC logbook บันทึกโดยตรงใน Logbook (หลักฐาน) Logbook คืออะไร สมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ และรายละเอียดต่าง ๆ ดูตัวอย่าง.... สารสนเทศในวันนี้ เน้นในเรื่อง logbook เพราะมันคือ ข้อมูลที่นำมาจัดเรียงให้เกิดเป็นระบบสารสนเทศเพื่อ ประเมินวิทยฐานะ แล้ว logbook ครู ต่างจาก logbook ทั่วไปอย่างไร ต่างกันอย่างสิ้นเชิง ทุกๆ งาน ทุกๆ กิจกรรมที่จะบันทึก logbook ย่อมแตกต่างกันไปตามลักษณะงานนั้น ใน logbook ครูจะต้องเก็บงาน/ภาระงานใน 4 ส่วน ดังนี้ อธิบายภาพ ****กว่าจะมาเป็น logbook **** (1)หาความหมาย ความหมายทั่วไป ความหมายของประธาน ก.ค.ศ. (รมต.ศธ) ความหมายในเชิงประเมินวิทยฐานะ (2)หารูปแบบ จะสร้างแบบระบบ on web/cloud หรือ ระบบ standalone (ใช้อยู่คนเดียว) วิเคราะห์ เวลาในการสร้างระบบ เวลาในการสร้างความเข้าใจ ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ได้ข้อสรุปว่า ในช่วงนี้ขอใช้ระบบระบบ standalone ไปก่อน จนกว่าทุกคนจะเข้าในหลักเกณฑ์การประเมิน แล้วจึงจะให้มาเข้าใจ ระบบสารสนเทศเพื่อการประเมิน ดูจากภาพในอนาคต on cloud แน่นอน แต่วันนี้ สร้างเป็นไฟล์ EXCEL ให้ตกอยู่ในมือคุณครูทุกคนก่อน เพราะอะไรจึงต้อง EXCEL ประหยัด แก้ไขปรับปรุงง่าย เข้าถึงครูผู้สอนทุกกลุ่ม (3)หาวิธีการ ทำอย่างไรจึงจะให้ logbook เข้าไปอยู่ในวิถีชีวิตของการทำงานของครู อะไรที่เพิ่มเข้าไปแล้วยุ่งยาก ซับซ้อน แล้วหลากหลายขั้นตอน แล้วได้ประโยชน์ตอบแทนน้อย เป็นไปได้ยากครับ เดี๋ยวจะมาเล่ารายละเอียดถึง รูปแบบ logbook กับวิธีการใช้ logbook ซึ่งถ้าพูดเลย 5-10 นาที ก็จะจบเรื่อง แต่เดี๋ยวก่อน ไหนๆ ก็มาแล้ว ขอเก็บตกรายละเอียดที่ซ่อนหรือแฝงไว้กับระบบการประเมินนี้สักเล็กน้อยก่อนนะครับ เพื่อปูความคิด ให้รูปถึงผลที่เกิดขึ้นครับ นั่นคือ การพัฒนาตนเอง กับ PLC มันคืออะไร บันทึกโดยตรงใน Logbook (หลักฐาน) สถาบันคุรุพัฒนา
การใช้ logbook ในการประเมินวิทยฐานะ กระบวนการใช้ก่อนนะครับ ให้เห็นว่าจะต้องนำไปใช้อย่างไร ส่งมีดมาให้ เป็นมีดหั่นผัก หรือมีดสับหมู ก็ต้องบอกกล่าวกันครับ
การใช้ logbook ในการประเมินวิทยฐานะ ถ้าเป็นไปตามโรดแมป ระยะที่สอง จะเกิดขึ้นในปีหน้า คือ...
รายการใน logbook รายการที่อยู่ใน logbook
คุณสมบัติผู้ขอรับการ ประเมิน 1 คุณสมบัติผู้ขอรับการ ประเมิน
ข้อมูลการมอบหมายงาน สอน (1) 2 ข้อมูลการมอบหมายงาน สอน (1)
ข้อมูลการมอบหมายงาน สอน (2)
ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (1) 3 ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (1)
ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (2) 3 ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (2)
ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (3) ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (3)
ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (4) 3 ข้อมูลบันทึกการปฏิบัติงาน (4)
ข้อมูลบันทึกการพัฒนาตามที่ ก.ค. ศ. กำหนด (1) 4 ข้อมูลบันทึกการพัฒนาตามที่ ก.ค. ศ. กำหนด (1)
ข้อมูลบันทึกการพัฒนาตามที่ ก.ค. ศ. กำหนด (2) 4 ข้อมูลบันทึกการพัฒนาตามที่ ก.ค. ศ. กำหนด (2)
ข้อมูลบันทึกกิจกรรม PLC (1) 5 ข้อมูลบันทึกกิจกรรม PLC (1) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community :PLC)
ข้อมูลบันทึกกิจกรรม PLC (2) 5 ข้อมูลบันทึกกิจกรรม PLC (2) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (ต่อ) (Professional Learning Community :PLC)
ข้อมูลบันทึกกิจกรรม PLC (3) 5 ข้อมูลบันทึกกิจกรรม PLC (3) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (ต่อ) (Professional Learning Community :PLC)
ผลการประเมินจากการ ปฏิบัติหน้าที่ 6 ผลการประเมินจากการ ปฏิบัติหน้าที่
สรุปข้อมูลการตรวจสอบเบื้องต้นคุณสมบัติการมี หรือเลื่อนวิทยฐานะ
การบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) ใช้จัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับการประเมินวิทยฐานะครู ตาม ว21/2560 ในเรื่องดังนี้ดังนี้ 1. ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง/วิทยฐานะ ดำรงตำแหน่งครูหรือวิทยฐานะ ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบัน เป็นเวลา 5 ปี ระยะเวลาย้อนหลัง 5 ปี ชนก./ชนพ. 4,000 ชม. ชช./ชชพ. 4,900 ชม. ต้องมี ชม. สอน/สัปดาห์ ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 2. ชั่วโมงการปฏิบัติงาน 3. วินัย คุณธรรม จริยธรรมฯ ไม่ถูกลงโทษทางวินัย/จรรยาบรรณวิชาชีพ ย้อนหลัง 5 ปี นับถึงวันที่ยื่นคำขอ ชนพ./ชช. -- ว 3/54 (ไม่หมดอายุ) ชนก./ชชพ. – ว 20/60 อบรม 20 ชม. ในปีที่ขอ 4. การพัฒนา ระยะเวลา 5 ปีการศึกษาย้อนหลัง - ประเมินตนเอง ตามแบบประเมินผลงานที่เกิด จากการปฏิบัติหน้าที่ 3 ด้าน 13 ตัวบ่งชี้ - ประเมินรายปี รวม 5 ปีการศึกษา 5. ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่