การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย
Advertisements

การพัฒนาอย่างยั่งยืน
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
Sociology of Development
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54.
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
กระบวนการศึกษาและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย
Customer Relationship Management (CRM)
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
Mini Factory Lamphun. CONTENTS Vision Mission Curriculum Ultimate Goal Process & Machines SMT.
Green Products & Services
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
Education in THAILAND Evidence-based Policy
ICT in KM 03: เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
วิชาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
Chapter 6 Entrepreneurship Financing - Innofund
New Chapter of Investment Promotion
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
Road to the Future - Future is Now
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
Dr. Montri Chulavatnatol
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ทรัพยากร
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
กอบกู้วิกฤตการศึกษาไทย ความหวังการสร้างชาติที่ยั่งยืน
นวัตกรรมนำประเทศ สู่ไทยแลนด์ 4.0
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
การรายงานผลการดำเนินงาน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
ORGANIC TOURISM.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)

ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development) * องค์การสหประชาชาติโดยคณะกรรมธิการโลกฯ ได้ให้คำจำกัดความคำว่า ไว้ดังนี้ “Sustainable development is development that meets the need of the present without compromissing the ability of future generations to meet their own needs” แปลว่า การพัฒนาที่ยั่งยืน คือการพัฒนาที่สนองความต้องการของปัจจุบัน โดยไม่ทำให้ประชาชนรุ่นต่อไปในอนาคตต้องประนีประนอมยอมลดความสามารถของเขาในการที่จะสนองความต้องการของเขาเอง * หนังสือ Globle Ecology Handbook ให้ความหมาย “การพัฒนาที่ยั่งยืน คือนโยบายที่ สนองความต้องการของประชาชนในปัจจุบัน โดยไม่ทำลายทรัพยากรซึ่งจะเป็นที่ต้องการ ในอนาคต”

ความหมาย “คุณภาพชีวิต (Quality of Life)” มิติของคุณภาพชีวิต คุณภาพทางจิตใจ คุณภาพ ทาง จิตวิญญาณ คุณภาพทางสังคม คุณภาพทางกายภาพ

คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางกายภาพ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนแง่วัตถุ สิ่งของ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ประกอบด้วย - ปัจจัย 4 : อาหาร ที่อยู่ เสื้อผ้าและยารักษาโรค - สิ่งก่อสร้างและการบริการขั้นพื้นฐาน : เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า น้ำประปา สถานศึกษาและ สาธารณสุข สวนสาธารณะ ศูนย์กลางค้า สถานบริการและอื่นๆ - เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ : สิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ยานพาหนะ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครื่องใช้และอื่นๆ

: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตใจ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง ความเชื่อมั่นใจ การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การเข้ามีส่วนร่วม ภาวะ จิตใจสงบสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น คุณภาพชีวิตทางสังคม : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชน สังคมและโลกอย่างสงบและสันติภาพ รวมถึงการได้รับบริการ ทางสังคม หรือบริการจากรัฐที่ดี

: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก เสียสละเข้าถึงความจริงทั้งหมด โดยลด ละเลิกความเห็นแก่ตัว มุ่งถึง ความดีสูงสุด/ภาวะคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นมิติทาง คุณค่าที่สูงสุดเหนือไปจากโลกหรือทางวัตถุ การมีศรัทธาและเข้าถึง คุณค่าที่สูงส่งทำให้เกิดความสุขอันประณีตลึกล้ำ

มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา ประเด็นพิจารณา มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา เทคโนโลยี Technology สังคม Social มนุษย์ Human เศรษฐกิจ Economic สิ่งแวดล้อม Environment

3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา สร้างความรู้ (K) เคลื่อนไหวทางสังคม (S) เชื่อมต่อกับการเมือง (P) 3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา

กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน “การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง เกื้อกูลกันเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ตลอดไป”

THAILAND

ทุนการพัฒนา ทุนธรรมชาติ (natural capital) ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ เทคโนโลยี เทคโนโลยี ทุนทางสังคม (Social capital) ทุนมนุษย์ (Human capital) ทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital) เทคโนโลยี เทคโนโลยี

การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1. การรวมตัวของเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. แนวโน้มประชากรและสังคม 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พฤติกรรมการบริโภค

การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การรวมตัวเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี และบทบาทเศรษฐกิจ ของเอเชียที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีน และอินเดีย ผลของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐ ต่อค่าเงิน การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การเคลื่อนย้ายเงินทุนในโลกมีมากขึ้น Hedge Funds เก็งกำไรในเงินและราคาสินค้า จะมีกฎ ระเบียบ การกำกับตรวจสอบ และ ธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินและธุรกิจ เอกชนที่เข้มงวดขึ้น เช่น Basel II, COSO2 เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ นาโนเทคโนโลยี

ประชากร ประชากรและสังคม สุขภาพ ความปลอดภัยในสังคม วัฒนธรรมและค่านิยม

มาตรการการค้าไม่ใช่ภาษี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อผูกพันระดับโลก ปัจจัยการผลิต

การขยายตัวของความเป็นเมือง โครงสร้างอายุ รูปแบบการบริโภค รายได้ การขยายตัวของความเป็นเมือง

หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality

Economic Restructuring Agriculture Industry Service Economic Restructuring Value Chain by Cluster Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution Infrastructure and Logistics S&T, R&D, Innovation Macroeconomic Policy Human Resource Development Laws and Regulations

โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ

2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปีข้างหน้า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ เสมอภาคและสมานฉันท์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ ปรับตัวได้มั่นคงและกระจายการพัฒนาที่เป็นธรรม จัดการและคุ้มครองฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อผลประโยชน์ต่อคนรุ่นอนาคต พัฒนาศักยภาพคนและการปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สงวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทั้งการใช้ การป้องกัน และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงในการดำรงชีวิต ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล พึ่งตนเองและเข่งขันได้ด้วยฐานความรู้ สร้างความเสมอภาคและการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการสังคมที่ดี จัดการและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี สร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งของทุนทางสังคมให้เกิดสันติสุข สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน กระจายผลประโยชน์ของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม กระจายการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชน