แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดร.นายแพทย์พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 5
วาระที่ 4.1 เรื่องจากที่ประชุม Provider Board สถานการณ์การเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 5 ไตรมาส 4 ปี 2560 ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ข้อมูลทั่วไป เขตสุขภาพที่ 5 ประชากร 5,168,991 คน รพศ. 4 แห่ง รพท. 11 แห่ง รพช. 51 แห่ง รวม 66 แห่ง รพ.สต.913 แห่ง ไตรมาสที่ 4 ปี 2560 รพ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี ระดับ 7
วาระที่ 4.1 เรื่องจากที่ประชุม Provider Board สถานการณ์การเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 5 ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ปกติ เฝ้าระวัง เสี่ยง NWC 373.64 NI 71.43 เงินสด-หนี้สิน -204.80 NWC 434.83 NI 269.42 เงินสด-หนี้สิน 10.61 NWC 1,061.25 NI 302.49 เงินสด-หนี้สิน 547.73 NWC 640.19 NI 230.37 เงินสด-หนี้สิน -249.18 NWC 471.63 NI 77.19 เงินสด-หนี้สิน 78.70 NWC 139.25 NI -11.50 เงินสด-หนี้สิน -74.61 NWC -22.35 NI 49.82 เงินสด-หนี้สิน -101.00 NWC 133.35 NI 211.75 เงินสด-หนี้สิน -312.41 ข้อมูล ณ ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2560 หน่วย : ล้านบาท
แนวทาง : การปรับเกลี่ยงบ UC61 ในระดับเขต ขั้นตอนที่ 1 : คาดการณ์รายได้-ค่าใช้จ่าย และทุนสำรองสุทธิ ปี 2561 จากงบการเงินไตรมาส 3 ปี 2560 ขั้นตอนที่ 2 : ปรับเกลี่ยช่วยรพ.ที่มีแนวโน้มจะขาดทุนสุทธิและทุนสำรองสุทธิเป็นลบในไตรมาส 4 ปี 2560 ขั้นตอนที่ 3 : ปรับเกลี่ย งบ CF 230.25 ล้านบาท โดยไม่มีการปรับเกลี่ย งบค่าตอบแทน , งบ PP NonUC และ Hardship (ผ่าน CFOเขต , 5x5 และ อปสข.) ขั้นตอนที่ 4 : รพ.ปรับ Planfin ตามการจัดสรรปรับเกลี่ย ขั้นตอนที่ 5 : วิเคราะห์แผนการเงิน( Planfin Analysis) ให้เป็นแผนที่ไม่มีความเสี่ยงสูง (High Risk) ขั้นตอนที่ 6 : รพ.ที่มีความเสี่ยงสูงและรับการปรับเกลี่ยจัดทำแผนปรับประสิทธิภาพ (LOI) ส่งเขต ผลการจัดสรรปรับเกลี่ย 230.25 ล้านบาท
การจัดทำแผนการเงินการคลัง (Planfin) ของโรงพยาบาลใน เขตสุขภาพที่ 5 จังหวัด Risk EBITDA Risk Investment >20% EBITDA Risk NWC เหลือต่อรายจ่าย:เดือน Planfin Type Normal Risk 1 2 3 4 5 6 7 8 รวม ราชบุรี 11 9 กาญจนบุรี 15 12 สุพรรณบุรี 10 นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 65 50 16 43 23 29 20 66 ลำดับ โรงพยาบาลที่มีความเสี่ยงสูง จังหวัด NWC Net Income risk scoring Risk EBITDA Risk Investment >20% EBITDA Risk NWC เหลือต่อรายจ่าย:เดือน Planfin type 1 รพ.แก่งกระจาน เพชรบุรี -4,362,626 -66,832 7 Normal Risk 2 2 รพ.หลวงพ่อเปิ่น นครปฐม 3,836,109 -6,332,524 5
การจัดทำแผนการเงินการคลัง (Planfin) ของโรงพยาบาลใน เขตสุขภาพที่ 5 Type 1 2 3 4 5 6 7 8 รวม จำนวนรพ. 29 20 11 66 ลำดับ โรงพยาบาลที่มีความเสี่ยงสูง จังหวัด NWC Net Income Risk scoring Planfin type 1 รพ.แก่งกระจาน เพชรบุรี -4,362,626 -66,832 7 2 2 รพ.หนองหญ้าปล้อง -6,587,679 1,014,389 6 3 รพ.บ้านลาด -1,776,181 3,237,984 4 รพ.เขาย้อย 428,999 -1,945,655 5 รพ.ท่ายาง 2,647,058 -11,618,477 1 รพ.บ้านคา ราชบุรี -4,733,291 4,389,395 4 รพ.สมเด็จพระยุพราชจอมบึง -2,710,438 163,540 8 รพ.บางแพ 816,941 -3,677,294 9 รพ.เจ้าคุณไพบูลย์พนมทวน กาญจนบุรี 340,734 -2,126,919 10 รพ.สถานพระบารมี -2,877,054 100,484 11 รพ.เดิมบางนางบวช สุพรรณบุรี 58,258 -6,121,478 12 รพ.อู่ทอง 325,340 -23,083,902 13 รพ.สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า สมุทรสงคราม -48,659,595 31,514,441
การกำกับและติดตาม กำหนดโรงพยาบาลกลุ่มเสี่ยงจัดทำแผนปรับประสิทธิภาพ (LOI) ติดตามการดำเนินงานโดย CFO จังหวัดและเขต ทุกเดือน นำเสนอแผน Planfin รายโรงพยาบาลทุกสัปดาห์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลงเยี่ยมติดตาม โรงพยาบาลเสี่ยงสูง โดยผู้บริหารระดับเขต และทีม CFO กำหนดมาตรการบังคับโรงพยาบาลวิกฤต ปัญหาอุปสรรค โรงพยาบาลที่มีแนวโน้มเกิดภาวะวิกฤตทางด้านการเงินปลายปีแต่ไม่มีวงเงินที่ เพียงพอต่อการแก้ไข การจัดสรรแบบ Step ladder และค่า IP K-factor ยังไม่สามารถช่วยรพ. ที่รับผิดชอบประชากรเบาบางได้ ข้อเสนอแนะ กำหนดวงเงินปรับเกลี่ยปลายปีระดับประเทศให้เพียงพอต่อการรองรับ รพ.ที่วิกฤตช่วงปลายปีงบประมาณ ควรมีการอบรมหลักสูตรทางด้านการเงิน ให้กับผู้บริหารของทุกโรงพยาบาล