งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะทำงานเฝ้าระวังด้านการเงินการคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะทำงานเฝ้าระวังด้านการเงินการคลัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะทำงานเฝ้าระวังด้านการเงินการคลัง
เขตสุขภาพที่ 12 1. 2. 3. นพ.สงกรานต์ ไหมชุม นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน)

2 1.ข้อมูลทั่วไป เขตสุขภาพที่ 12 ประกอบด้วย 7 จังหวัด จังหวัด จำนวน รพ.
ประชากรUC สงขลา 17 1,043,099 สตูล 8 256,589 ตรัง 10 505,442 พัทลุง 11 386,189 ปัตตานี 12 604,777 ยะลา 7 460,468 นราธิวาส 13 680,819 รวม 78 3,937,383 (เฉพาะ ในสังกัด สป.สธ)

3 สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
รพ. วิกฤติระดับ 7 ไตรมาส 3/59 รพ.เขาชัยสน รพ.ตะโหมด รพ.ควนขนุน รพ.ศรีบรรพต รพ.ป่าบอน รพ.ศรีนครินทร์ฯ รพ.นาโยง รพ.ควนโดน รพ.ควนกาหลง รพ.ละงู รพ.ทุ่งหว้า รพ.มะนัง รพร. สายบุรี รพ.สทิงพระ รพ.กระแสสินธุ์ รพ.บางกล่ำ

4 สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
รพ. วิกฤติระดับ 7 เดือนกรกฎาคม 59 รพ.นาโยง รพ.เขาชัยสน รพ.ตะโหมด รพ.ควนขนุน รพ.ศรีบรรพต รพ.ป่าบอน รพ.ศรีนครินทร์ฯ รพ.บางแก้ว รพ.หาดสำราญ รพ.ห้วยยอด รพ.ควนโดน รพ.ควนกาหลง รพ.ละงู รพ.ทุ่งหว้า รพ.มะนัง รพร. สายบุรี รพ.ท่าแพ รพ.โคกโพธิ์ รพ.ไม้แก่น รพ.สทิงพระ รพ.กระแสสินธุ์ รพ.บางกล่ำ รพ.ควนเนียง รพ.สิงหนคร รพ.คลองหอยโข่ง รพ.เบตง

5 4.ผลของการบริหารการเงินของเขตสุขภาพ
ประสิทธิภาพการบริหารการเงินของเขตสุขภาพ แผนภูมิ สถานการณ์ทางการเงินหน่วยบริการเขตสุขภาพที่ 12 วิกฤติระดับ 7 ไตรมาส 3/59 แยกรายจังหวัด จังหวัด มิถุนายน59 กรกฎาคม59 สงขลา 3 6 สตูล 5 ตรัง 1 พัทลุง 7 ปัตตานี ยะลา รวม 16 26 ที่มา: วันที่ 01/09/59

6 1.การจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัวกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปี 2558 ต่อรายหัวประชากร UC งบ กองทุน OP กองทุน IP กองทุน PP รวม ค่าเฉลี่ยประเทศ 1,056.96 998.26 214.40 2,269.62 ค่าเฉลี่ยเขต 986.36 839.66 226.00 2,052.02 ปี 2559 งบ กองทุน OP กองทุน IP กองทุน PP รวม ค่าเฉลี่ยประเทศ 1,103.92 1,060.14 222.70 2,386.76 ค่าเฉลี่ยเขต 1,027.73 820.84 145.89 1,994.46 ปี 2560( Sheet 0 ก่อนหัก QOF) งบ กองทุน OP กองทุน IP กองทุน PP รวม ค่าเฉลี่ยประเทศ 1,135.00 934.19 137.39 2,206.58 ค่าเฉลี่ยเขต 1,058.55 795.67 135.42 1,989.64

7 1.การจัดสรร UC Basic payment
รายการ ปี 2559 ปี 2560 OP+IP+PP (ก่อนหักเงินเดือน) 92,770,433,064 96,253,207,201 เงินเดือน 38,398,324,100 40,539,706,000 คงเหลือ 54,372,108,964 55,713,501,201 OP 80% Age adj 20% Flat rate IP 45% Age adj average RW 20% Flat rate Fixed rate PP 60% Age adj 40% Workload

8 1.การจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัวกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปี 2560( Sheet 0 ก่อนหัก QOF ก่อนปรับลดค่าแรง) ต่อรายหัวประชากร UC งบ กองทุน OP กองทุน IP กองทุน PP รวม ค่าเฉลี่ยประเทศ 1,135.00 934.19 137.35 2,206.54 เขต 1 1,187.69 1,024.01 138.88 2,350.59 เขต 2 1,169.65 1,021.48 137.96 2,329.09 เขต 3 1,196.81 929.14 138.28 2,264.23 เขต 4 1,144.49 881.83 137.95 2,164.27 เขต 5 1,144.52 933.08 137.65 2,215.25 เขต 6 1,118.73 890.72 137.42 2,146.86 เขต 7 1,152.14 985.98 137.71 2,275.83 เขต 8 1,112.83 894.28 136.81 2,143.92 เขต 9 1,155.75 1,008.58 137.29 2,301.62 เขต 10 1,127.10 989.12 136.68 2,252.89 เขต 11 1,083.01 856.98 136.93 2,076.92 เขต 12 1,058.55 795.67 135.40 1,989.62

9 1.การจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัวกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปี 2560( Sheet 0 ก่อนหัก QOF ก่อนปรับลดค่าแรง) ต่อรายหัวประชากร UC งบ กองทุน OP กองทุน IP กองทุน PP รวม ค่าเฉลี่ยประเทศ 1,135.00 934.19 137.35 2,206.54 ค่าเฉลี่ยเขต 1,058.55 795.67 135.40 1,989.62 สงขลา 1,053.10 858.87 136.82 2,048.79 สตูล 1,037.37 748.90 134.96 1,931.23 ตรัง 1,062.19 1,065.55 136.49 2,274.23 พัทลุง 1,103.41 803.81 137.83 2,055.05 ปัตตานี 578.93 133.42 1,759.72 ยะลา 779.68 133.99 1,961.04 นราธิวาส 714.84 1,896.10

10 กำหนดพื้นที่เป้าหมาย
1.การจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัวกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กำหนดพื้นที่เป้าหมาย ประเทศ เขต 12 A ตามประกาศฯ 119 39 B ตามประกาศฯ+พื้นที่เกาะ 5 - C ตามประกาศ+วิกฤตเรื้อรัง 6 D ตามประกาศ+พื้นที่เกาะ+วิกฤตเรื้อรัง 1 E วิกฤตเรื้อรัง 52 7 F พื้นที่เกาะ 2 G ตามประกาศ+เป็นรพ.เฉลิมพระเกียรติ H เป็นรพ.เฉลิมพระเกียรติ 11 รวม 202 48

11 1.การจัดสรร UC Basic payment
งบตั้งต้น เงินกันประเทศ งบหลังหักเงินกัน OP 47,752,108,463 4,699,207,304 43,052,901,159 PP 10,147,541,262 998,603,026 9,148,938,236 IP ในเขต 37,728,003,388 3,902,197,611 33,825,805,777 IPนอกเขต 1,925,102,232 - รวม 97,552,755,345 9,600,007,941 86,653,207,201 เงินกัน จำนวน กันเงินระดับประเทศ 1,900,000,000 Step ladder+K factor 7,700,000,000

12 1.การจัดสรร UC Basic payment (เฉพาะ เขต 12)
จำนวนเงิน(ล้านบาท) งบตั้งต้น เงินกัน(1900 ลบ) เงินกัน (7,700ลบ) หลังหักเงินกัน Step+K OP 4,128.55 80.41 325.87 3,722.27 3,952.32 PP 1,032.02 20.10 81.46 930.46 839.88 IP ในเขต 3,050.68 62.45 253.08 2,735.15 IPนอกเขต 82.18 รวม 8,29343 162.96 660.41 7,470.05 7,609.53 เงินกัน จำนวน กันเงินระดับประเทศ 162,959,356 Step ladder+K factor 660,414,232

13 งบ ปี 2559 Step+K ส่วนต่าง ร้อยละ
1.การจัดสรร UC Basic payment (หลังปรับลดค่าแรง) งบ ปี 2559 Step+K ส่วนต่าง ร้อยละ รวม เขต 12 3,675,069,201 4,032,434,374 357,365,173 9.72 สงขลา 1,133,302,150 1,108,854,696 -24,447,454 -2.16 สตูล 206,319,392 271,414,030 65,094,638 31.55 ตรัง 629,591,287 629,497,570 -93,717 -0.01 พัทลุง 362,444,937 384,815,517 22,370,580 6.17 ปัตตานี 371,871,074 544,492,303 172,621,229 46.42 ยะลา 379,964,841 400,320,759. 20,355,918 5.36 นราธิวาส 591,575,521 693,039,497 101,463,976 17.15

14 1.การจัดสรร UC Basic payment
เงินกัน จำนวน Step ladder+K Factor 7,700,000,000 เกณฑ์ที่ 1 เติม รพ. ไม่น้อยกว่า85%ของsheet 0 ปี 60 . เกณฑ์ที่ 2 เติมกรณี หักเงินแล้วติดลบ เกณฑ์ที่ 3 เติม 202 แห่ง ภายใต้เงื่อนไข เติมลำดับที่1 - ให้อย่างน้อยเท่ากับประกันขั้นต่ำ (85%รายรับ 59/sheet 0 60) เติมลำดับที่ 2 - เฉพาะกลุ่มที่หักเงินเดือนแล้วติดลบ เติมลำดับที่ 3.1 -เติมกลุ่มเป้าหมาย 202 แห่ง 3.1.1) พิจารณารายรับที่จัดสรร เทียบกับsheet0 ปี 60 และความพอเพียง จะเติมให้กรณีรายรับต่ำกว่า sheet0 ปี 60 และความพอเพียง 3.1.2) เติมเงินเพื่อให้ได้อย่างน้อยเท่ากับรายรับsheet0 ปี 60และความพอเพียงที่ไม่เกิน1.5 เท่าของsheet0 _60 โดยดู NWC ประกอบ  ถ้าNWC ติดลบจะเติมให้ครบ  ถ้าNWC บวกน้อยกว่ารายรับ ปี 59 จะเติมโดยปรับลด NWC ที่ 25% เติมลำดับที่ 3.2 -เติมกลุ่มเป้าหมาย 202 แห่ง 3.2.1) กู้สถานการณ์ NWC ที่ติดลบ 3.2.2) ปรับเติมเงินในกรณีที่ NWC ติดลบ หลังจาก 3.1 กรณีที่ 1 ผลจากการเติม 3.1 เทียบกับ NWCที่ติดลบ ถ้ามากกว่า 0 = ไม่ต้องเติมเงิน กรณีที่2 ผลจากการเติม 3.1 เทียบกับ NWCที่ติดลบ ถ้าน้อยกว่า 0 = เติมให้เท่ากับ 50%NWC)

15 พื้นที่กันดารและเสี่ยงภัยตามประกาศฯ
2.การจัดสรร Hardship พื้นที่กันดารและเสี่ยงภัยตามประกาศฯ เขต จำนวนตามประกาศฯ 1 28 2 10 3 4 5 6 7 8 15 9 11 14 12 40 รวม 137 จังหวัด จำนวนตามประกาศฯ สงขลา 5 สตูล 1 ตรัง พัทลุง ปัตตานี 12 ยะลา 8 นราธิวาส 13 รวมเขต 12 40 พื้นที่จัดสรร เกณฑ์จัดสรร พื้นที่เฉพาะระดับ 1 1,000,000 พื้นที่เฉพาะระดับ 2 2,000,000 รพท. ยากลำบาก-ก 850,000 รพท. ยากลำบาก-ข 1,200,000

16 2.การจัดสรร Hardship (ร่าง)
ร่างหลักเกณฑ์ HS1 พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1.1 จัดสรรให้พื้นที่ที่มีพยาบาลในโครงการผลิตพยาบาลวิชาชีพ HS2 พื้นที่กันดาร/เสี่ยงภัย 2.1จัดสรรตามพื้นที่ประกาศ 2.2 จัดสรรสนับสนุน FC รพ.สต.ในพื้นที่ตามประกาศ 2.3 จัดสรรสนับสนุนรพ. ในพื้นที่ตามประกาศ HS1 HS2 รวม เขต 12 624,275,000 330,714,158 954,989,158 สงขลา 58,352,326 43,642,557 101,994,884 สตูล 33,576,522 3,432,137.65 37,008,660 ตรัง พัทลุง 4,218,266 ปัตตานี 197,812,600 103,255,745 301,068,346. ยะลา 122,661,226 74,859,299 197,520,525 นราธิวาส 211,872,323 101,306,151 313,178,475

17 3.การจัดสรร ค่าตอบแทน ประเภท รพ. ค่าตอบแทน รพ.สต. ค่าตอบแทน รพ. รวม
รพศ./รพท 155,565,600 844,434,400 1,000,000,000 รพช. 473,176,800 1,526,823,200 2,000,000,000 ประเภท รพ. ภาพรวมประเทศ เฉพาะเขตสุขภาพที่ 12 รพ.สต. 1,197,733,200 244,506,000 รพช. 1,087,930,533 319,422,080 รพศ./รพท. 704,580,400 183,030,461 รวม 3,000,000,000 750,124,894

18 3.การจัดสรร ค่าตอบแทน รวม เขตสุขภาพที่ 12 533,608,323 สงขลา
101,543,791 สตูล 26,115,250 ตรัง 40,505,371 พัทลุง 43,028,351 ปัตตานี 115,986,756 ยะลา 88,903,831 นราธิวาส 117,524,973 หมายเหตุ จากการตรวจสอบข้อมูล พบว่า ข้อมูล รพสต.ยังผิดพลาด

19 4.การจัดสรร PP Non UC ยอดเงิน 1,384.75 ล้านบาท ไม่หักเงินเดือน
ยอดเงิน 1, ล้านบาท . ไม่หักเงินเดือน จัดสรรรายจังหวัด ตามประชากร Non Uc ปรับเกลี่ยได้ รายงานหลักเกณฑ์และผลการจัดสรร ให้ส่วนกลางทราบ ให้บริการตามสิทธิประโยชน์

20 1.การจัดสรร เงินกันประเทศ
จำนวน เงินกันประเทศ/เขต/จังหวัด 1,900,000,000 1,600 ล้านบาท จัดสรรคืนเขต จัดสรรผ่าน 5X5 /อปสข. . 300 ล้านบาท พิจารณาหลักเกณฑ์ภายหลัง

21 ข้อเสนอการจัดสรร เงินกัน 1,600ล้านบาท
ข้อเสนอที่ 1 จัดสรรคืนตามสัดส่วนรายรับ ข้อเสนอที่ 2 จัดสรรตามสัดส่วนNWC ค่าลบ : NWC ค่าบวก 70:30 ข้อเสนอที่ 3 ใช้ข้อเสนอที่ 1 : ข้อเสนอที่ :50 ข้อเสนอ จำนวนวงเงินที่ได้รับ ข้อเสนอที่ 1 136,023,762 ข้อเสนอที่ 2 163,624,986 ข้อเสนอที่ 3 149,824,374

22 ประมาณการรายรับจากกองทุนUC
จำนวนเงิน(ล้านบาท) รายการ 2558 2559 2560 ประมาณการรายรับ(Basic payment) 3,394.73 3,541.04 4,032.43 Hard Ship (กันดารฯ) 144.35 119.60 330.71 Hard Ship (พยาบาล 3000 อัตรา) - 624.28 ค่าตอบแทน (3,000 ล้านบาท) 442.04 533.61 PP non-UC 111.12 92.28 105.74 ปรับเกลี่ย (ประเทศ) 320.00 36.50 ปรับเกลี่ย(เขต) 128.12 134.03 149.35 รวมรับเพิ่มเติม 1,145.63 1,540.30 1,594.34 ปรับเกลี่ยไม่ได้ ปรับเกลี่ยระดับเขต ปรับเกลี่ยระดับจังหวัด

23 ประมาณการรายรับจากกองทุนUC ปี 2560
รายการ สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ประชากร 1 กค. 59 1,043,099 256,589 505,442 386,189 604,777 460,468 680,819 รายรับปี 2559 1,342,891,090 308,473,813 677,057,713 427,241,822 740,745,134 595,588,689 957,953,273 รายรับปี 2560 ก่อนปรับเกลี่ย 1,357,757,012 340,034,806 683,514,729 444,433,266 970,949,541 696,358,184 1,133,728,727 ส่วนต่าง 14,865,922 31,560,993 6,457,015 17,191,444 230,204,407 100,769,495 175,775,453 คิดเป็นร้อยละ 1.11 10.23 0.95 4.02 31.08 16.92 18.35 ยอดปรับเกลี่ย 32,000,000 44,000,000 31,351,100 42,000,000 รายรับปี 2560 หลังปรับเกลี่ย 1,389,757,012 384,034,806 714,865,829 486,433,266 46,865,922 75,560,993 37,808,115 59,191,444 3.49 24.50 5.58 13.85 คิดเป็นต่อหัวประชากร 1,332.33 1,496.69 1,414.34 1,259.57 1,605.47 1,512.28 1,665.24

24 ความเสี่ยงของการบริหารเงิน UC ปี 2560
รพ.มีรายรับน้อยกว่าปี 2559 IP ส่งข้อมูลเป็นรายเดือน จะได้รับเงินช้า Fix cost รพ.สต. ทารกแรกเกิด เบิกจาก IP ปิด Global 60 อาจจะมีติดลบ OP refer (หนี้) ยังไม่รับรู้ทางบัญชี ระเบียบค่าตอบแทนฉบับใหม่ งบปลายปี 300+1,300 ล้านบาท

25 แนวทางการบริหารความเสี่ยง ปี 2560
การส่งข้อมูลผู้ป่วยใน ต้องทันเวลาและเป็นปัจจุบัน แผนรายรับ UC ควรตั้งไว้ประมาณ 85% ของยอดจัดสรร แผนรายจ่ายมีการปรับทุกไตรมาสไม่เกิน 10 % รพ. มีการติดตามแผนการใช้เงินบำรุง รายเดือน CFO เขต มีการติดตามแผนการใช้เงินบำรุง รายไตรมาส มีแผนบริหารงบจัดสรรให้ รพสต. มีคู่มือการจัดสรรงบ UC ทุกระดับ ( เขต/ จังหวัด / อำเภอ) การเจรจางบ ผู้ป่วยใน/ผู้ป่วยนอก กับ มอ. เป็นกลไกระดับเขต มีแนวทางการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง งานประกันสุขภาพ งานจัดเก็บรายได้ และงานการบัญชี พัสดุ มีการบริหารการตามจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เป็นรายเดือน

26 นโยบายบริหารการเงินการคลัง เขตสุขภาพที่ 12
นโยบายบริหารการเงินการคลัง เขตสุขภาพที่ 12 ข้อมูลผู้ป่วยใน ส่งไม่เกิน 1 เดือน จัดสรรงบให้ รพ.สต. ทุกเดือน ทุกรพ. มีคุณภาพบัญชี ระดับ B มีแนวทางการจัดสรรงบ UC ในระดับจังหวัด/อำเภอ จัดสรรงบตามแนวทางอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง หน่วยจัดเก็บรายได้แลกเปลี่ยนข้อมูลกับบัญชี เดือนละ 1 ครั้ง บริหารแผนเงินบำรุง ไม่เกิน 10% (รายเดือน)

27 แนวทางการคิดเงิน CF ระดับเขต ปี 2560
- เกลี่ย Step R จากกระทรวงให้ทุก รพ. มีค่า NI ปี 60 ไม่ติดลบ - รพ.NWC ติดลบ - หลักเกณฑ์เกลี่ยภาพในจังหวัดให้หน่วยบริการ 1.Risk Score เดือน ก.ค. 59 มากกว่า 3 2.และ NWC ติดลบ ผลงาน 60 3.คุณภาพบัญชี มากกว่า B 4.Risk Score น้อยกว่า 7 ทุกไตรมาส

28 ความเสี่ยงด้านการบริหารการเงินการคลัง ของหน่วยบริการ เขต 12
1.การปฏิบัติตามนโยบายบัญชียังไม่มีคุณภาพ ในหมวดต่อไปนี้ - ลูกหนี้/เจ้าหนี้ - ประสิทธิภาพการเรียกเก็บ - ข้อมูลที่ลงบัญชียังทำโดยนักบัญชี ไม่มีระบบตรวจสอบ - ไม่มีแนวทางปฏิบัติงานระหว่างหน่วยประสาน(หรือหน่วยจัดเก็บรายได้) กับบัญชี - ไม่มีแนวทางปฏิบัติระหว่างพัสดุกับบัญชี 2.ประสิทธิภาพการจัดเก็บและควบคุมแผนการใช้เงินบำรุงและ Planfin 3.การบริหารจัดการแผน LOI - ยังไม่พบการปรับปรุงระบบใหญ่ ๆ 4.ความต่อเนื่องในการทำงาน CFO ที่จังหวัด

29 Q/A ปัญหา ความเสี่ยง/โอกาสพัฒนา ประเด็น ตั้งรายรับ ผู้ป่วยใน
ประเด็น ตั้งรายรับ ผู้ป่วยใน ความเสี่ยง/โอกาสพัฒนา การเปลี่ยน แพทย์ และเวชสถิติ 2. ลงทุนมาก 2. ประเมินความคุ้มทุน 3. ค่าแรง สูง / ปรับเปลี่ยนการคำนวณ IP 3. เพิ่มผลงาน / refer back/การจัดสรรบุคลากร /ระบบงาน 4.การตามจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ ( CT MRI Lab) ควบคุมไม่ได้ 4. เงื่อนไข หลักเกณฑ์ การส่งต่อ

30 Q/A ปัญหา 5.ค่าตอบแทน / OT /นอกเวลา 6. การขาดดุล
ความเสี่ยง/โอกาสพัฒนา 5. ปริมาณงาน / อัตราตามประกาศฯ/ตอบสนองความต้องการของปชช. 6. การขาดดุล 6. รายได้น้อย รายจ่ายมาก ระบบ การลงบัญชี ควบคุมแผน 7.รายได้ รพศ/รพท ลดลง ตามการคำนวณ เสี่ยงต่อสถานการณ์ทางการเงิน 7. พัฒนาระบบ ลูกหนี้ เจ้าหนี้ รายตัว เปรียบเทียบรายรับรายจ่าย รอบ 3 ปี 8.การส่งข้อมูลผู้ป่วยใน 8. ความแตกต่างของแต่ละสิทธิ/ ระยะเวลาในการส่งข้อมูล

31 Q/A 10. โครงสร้างการบริหารงาน 11.รูปแบบการจัดสรรเปลี่ยนแปลงรายปี
ปัญหา 9.ความต้องการ ครุภัณฑ์/วัสดุที่เพิ่มขึ้น ความเสี่ยง/โอกาสพัฒนา 9. มี NWC+ และ เงินบำรุงหลังหักหนี้สิน ที่แท้จริง 10. โครงสร้างการบริหารงาน 10. ความรับผิดชอบกับจำนวนบุคลากร 11.รูปแบบการจัดสรรเปลี่ยนแปลงรายปี 11.กำหนดแนวทางการจัดสรร รายปี 12. 12.


ดาวน์โหลด ppt คณะทำงานเฝ้าระวังด้านการเงินการคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google