แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
Advertisements

โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
ความเสี่ยง. 1. จากข่าวหนังสือพิมพ์และ TV พนักงานธนาคารแห่งหนึ่ง ยักยอกเงินธนาคาร โดยแก้ไขตัวเลขในระบบงาน มูลค่า ความเสียหายประมาณ 500 ล้านบาท ทำให้ผู้บริหารต้อง.
Risk Management “Risk” “ ความเสี่ยง ” เหตุการณ์ / ประเด็นที่มีโอกาส เกิดขึ้นในอนาคตและจะส่งผลกระทบในแง่ลบต่อ การดำเนินการขององค์กร - ประเด็นที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแนวทางการ.
การลงใบความเสี่ยง (IR) ใน Hosxp โดยทีมความเสี่ยง โรงพยาบาลควนเนียง.
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
บทที่ 3 องค์การสมัยใหม่ (Modern organization)
โครงการฝึกอบรม เรื่องการบริหารความเสี่ยงแก่หน่วยงานและ ผู้ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบงาน ด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Coordinators) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
การจัดการองค์ความรู้
Risk Management in Siam University
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
แนวคิด ความหมาย และหลักการในการชี้บ่งอันตราย
หลักการให้คำปรึกษา (สำหรับผู้ตรวจสอบภายใน)
ประชุมเตรียมการรับตรวจ การควบคุมภายใน ทร. ประจำปี งป.๖๑
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA
Governance, Risk and Compliance
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
Student activity To develop in to the world community
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
บทที่ 2 การวางแผนและการบริหารโครงการ (Project Planning and Management)
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
การผลิตและการจัดการการผลิต
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
Healthcare Risk management System: HRMS [ on cloud ]
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
1. ชื่อวิชา  PPA 1102 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้
การควบคุม (Controlling)
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
หลักการจัดการ Principle of Management
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
การวางแผนงานสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน

เนื้อหาการนำเสนอ 2. ความหมายและวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน 1. วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 2. ความหมายและวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน 3. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน 4. สาระสำคัญของระเบียบ คตง.ว่าด้วยการกำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544

1. วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ เมื่อเสร็จสิ้นการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมจะมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน และประเมินผลการควบคุมภายใน รวมทั้งจะสามารถนำหลักการเกี่ยวกับมาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ปฏิบัติภายในหน่วยงานเพื่อให้การดำเนินการของหน่วยงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจอยู่เสมอ 3

หน้าที่พื้นฐานของผู้บริหาร การวางแผน (Planing) การจัดองค์กร (Organizing) การควบคุม (Controlling) การอำนวยการ (Directing)

2. ความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดการควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจกำหนดให้มีขึ้น เพื่อให้มีความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน

2. ความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดการควบคุมภายใน (ต่อ) เป็นกระบวนการที่รวมเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงานตามปกติ เกิดขึ้นได้โดยบุคลากรทุกระดับขององค์กร ให้ความเชื่อมั่นในระดับสมเหตุสมผล เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ 3 ประการของการควบคุม

ความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดการควบคุมภายใน (ต่อ) 3 วัตถุประสงค์ 1. ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงานรวมทั้ง การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันการรั่วไหล สูญเสีย และ การทุจริต (Operation = O) 2. ความเชื่อถือรายงานทางข้อมูล(Financial Reporting =F) 3. การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ( Compliance = C )

3. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ

หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจอยู่เสมอ ประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน กำหนดให้หน่วยตรวจสอบภายในเป็นส่วนหนึ่งของการควบคุมภายใน

หน้าที่ของผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ จัดให้มีการควบคุมภายในของส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ สอบทานการปฏิบัติงานที่ใช้บังคับในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการควบคุมภายในให้รัดกุม

ส่วนที่ 2 มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล

1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งเสริมองค์ประกอบการควบคุม ภายในอื่น หรือการควบคุมที่มีอยู่ให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น เป็นเรื่องการสร้างความตระหนัก เน้นที่จิตสำนึก และให้ความสำคัญกับคุณภาพของคน เช่น  ความซื่อสัตย์และจริยธรรมในทุกระดับองค์กร  การพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากร  ปรัชญาและรูปแบบการบริหาร  โครงสร้างองค์กรที่ดี

2. การประเมินความเสี่ยง ความหมาย: ความเสี่ยง หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่งไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด

1.การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) ขั้นตอนในการประเมิน ความเสี่ยง 1.การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) 2.การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 3.การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

การวิเคราะห์ผลกระทบของความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 4 3 2 1 มีความเสี่ยงสูงมาก มีความเสี่ยงสูง มีความเสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงต่ำ ผลกระทบของความเสี่ยง 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยง การยอมรับความเสี่ยง(Take Risk) การควบคุมความเสี่ยง(Treat Risk) การถ่ายโอนความเสี่ยง(Transfer Risk) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง(Terminate Risk)

3. กิจกรรมการควบคุม ได้รับการตอบสนองจากบุคลากรและนำมาใช้ในการ วิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดหรือออกแบบโดย ได้รับการตอบสนองจากบุคลากรและนำมาใช้ในการ ปฏิบัติงานเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม  การกำหนดนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงาน  การแบ่งแยกหน้าที่  การอนุมัติ  การดูแลป้องกันทรัพย์สิน

4. สารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทางการเงิน และข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ เกี่ยวกับการ ดำเนินงานของหน่วยงาน ทั้งข้อมูลจากแหล่งภายใน หรือภายนอก โดยลักษณะของสารสนเทศที่ดี  เหมาะสมกับการใช้  ทันเวลา ถูกต้อง สมบูรณ์  น่าเชื่อถือ เป็นปัจจุบัน

4. สารสนเทศและการสื่อสาร การสื่อสาร หมายถึง การส่งสารสนเทศระหว่างบุคลากร โดยจัดให้มีระบบการสื่อสารสองทาง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์กร

5. การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผล หมายถึงกระบวนการประเมินคุณภาพการปฎิบัติงาน และประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่วางไว้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อทราบว่าระบบการควบคุมภายในที่มีอยู่สามารถป้องกันความเสี่ยงในระดับที่ยอมรับได้หรือต้องปรับปรุง ให้ทันสมัยตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

5.การติดตามประเมินผล (ต่อ) การติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน การประเมินผลเป็นรายครั้ง 1. ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง 2. ประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ

ส่วนที่ 1 ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินฯ  คตง. ได้ออกระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ข้อ 5 ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายในให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่ระเบียบใช้บังคับ ข้อ 6 ประเมินการควบคุมภายในและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ หรือปีปฏิทิน

ส่วนที่1: ตัวระเบียบ (ต่อ) การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 รายงานอย่างน้อยปีละครั้ง ทุกปี รายงานภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ (ภายในเดือน ธ.ค.ของทุกปี) หรือปีปฏิทิน (ภายในเดือน มี.ค.ของทุกปี)

รายละเอียดที่ต้องรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 การควบคุมภายในเป็นไปตามมาตรฐานการควบคุม หรือไม่ (ปอ.๑ ) ผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายใน และผลการประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (ปอ.๑,ปอ.๒) จุดอ่อน ข้อเสนอแนะ และแผนการปรับปรุงแก้ไข (แบบ ปอ.๓)

ระเบียบฯข้อ 8: การไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการควบคุมภายใน แจ้งกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา รายงานต่อประธานรัฐสภา คณะกรรมาธิการของรัฐสภา คณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปี อาจต้องรับโทษปรับทางปกครอง ตามระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544

สวัสดี

คุณกัฑณา ลิ่มชวลิต โทรฯ ๐๗๗-๘๐๐๑๗๒ สำนักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดระนอง อ.เมือง จ.ระนอง