โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
กรอบการวิเคราะห์การพัฒนา ปี 2559 รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กลุ่มงานโยบายและ แผน รพ. ชร.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
สำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
ภาพรวมของระบบ. ระบบสารสนเทศสนับสนุนโครงการ รากฟันเทียมพระราชทานฯ DentIIS- Dental Implant Information System.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
Risk Management System
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
การบริหารความปลอดภัยสารสนเทศ
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
การป้องกันรักษาความปลอดภัยจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เบื้องต้น
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
E-Payment ภาครัฐ หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ ผ่านระบบ KTB Corporate Online เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
การพัฒนางานเภสัชกรรม
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
การจัดการระบบฐานข้อมูล
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
มิติทางสังคมและจริยธรรมสำหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
เวชระเบียน และ สถิติ Medical Record and Statistics
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การใช้ยา.
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
[ บทที่ 1 ] ระบบฐานข้อมูล
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
Data resource management
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า การจัดการสารสนเทศ โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นายแพทย์ธนากร วัตราเศรษฐ์

โครงสร้างคณะกรรมการสารสนเทศ แพทย์ พยาบาล นวก.สาธารณสุข นวก.คอมพิวเตอร์ จพ.ทันตสาธารณสุข จพ.เภสัชกรรม จพ.สาธารณสุข จพ.เวชสถิติ PCT HRM Ethic RM IC ENV HA NSO MSO

ยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาคุณภาพระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ ปฏิบัติงานตามภารกิจ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล ให้มี ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารให้มีความมั่นคงปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้สารสนเทศ ส่งเสริมการเรียนรู้ นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน และสร้างนวตกรรม

แผนที่ยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า วิสัยทัศน์ : โรงพยาบาลคุณภาพ การเงินมั่นคง ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มศักยภาพในการบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มรายได้เพื่อความยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บูรณาการด้านภาคีเครือข่าย ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ G1 ประชาชนสุขภาพดี G6 โรงพยาบาลมีรายได้เพิ่มขึ้น คุณภาพ การให้บริการ G2 ประชาชนเชื่อมั่นในโรงพยาบาล G7 ความพึงพอใจของภาคีเครือข่าย ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ G3 กระบวนการปฏิบัติงานที่มีมาตรฐาน G8 ความสำเร็จของการทำงานร่วมกับเครือข่าย การพัฒนา องค์กร G4 เจ้าหน้าที่มีความสุข G5 เพิ่มสมรรถนะของบุคลากร

พันธกิจ วางแผนและออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลให้มีการเชื่อมโยงข้อมูล เพื่อใช้ในการ บริหารจัดการองค์กร การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยและการพัฒนา งานวิชาการ จัดระบบเวชระเบียนให้ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยและผู้ให้บริการ เพื่อให้เกิดการสื่อสารที่ดี มีความต่อเนื่องและการประเมินคุณภาพในการดูแล รักษา

ความต้องการใช้สารสนเทศ จัดเก็บและกระจายข้อมูล ข้อมูลสาธารณสุขเครือข่าย - KPI Service plan แผนงานด้านการเงิน แผนงานทางด้านคุณภาพ - ข้อมูลงานระบาด - ข้อมูลประชากร - จำนวนสิทธิประกันสุขภาพ ผลการดำเนินงานตามไตรมาสของ รพ. - ข้อมูลส่งเบิกตามสิทธิ์ - ข้อมูลผู้ป่วยนอก - ข้อมูลผู้ป่วยใน - สาเหตุการป่วย - ข้อมูลการเกิด - ข้อมูลการตาย - อัตราการครองเตียง ข้อมูลลูกหนี้ ข้อมูลเจ้าหนี้ ความต้องการใช้สารสนเทศ จัดเก็บและกระจายข้อมูล ข้อมูลด้านการเงิน ข้อมูล ผู้มารับบริการ ข้อมูลสาธารณสุขเครือข่าย ข้อมูลคุณภาพ ข้อมูลยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูล

ประเด็นคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา ปลอดภัย

การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์โรงพยาบาล ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มศักยภาพในการให้บริการ 1. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ด้านเวชระเบียน 1.1 การวางแผนและออกแบบระบบ สารสนเทศมีความครบถ้วนถูกต้อง 1.2 มีระบบเชื่อมโยง การสังเคราะห์ ข้อมูล ตอบสนองต่อผู้ให้บริการ ผู้รับบริการและผู้บริหารอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.1 พัฒนาคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ที่ได้มาตรฐาน วางระบบความปลอดภัยและ การเข้าถึงข้อมูล 2.2 การทบทวนเวชระเบียนเพื่อค้นหา ความเสี่ยง

ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มศักยภาพในการให้บริการ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ

การจัดการสารสนเทศ Firewall Password ผู้ป่วยคดี Social media OSCC HIV ผู้ป่วยคดี มีระบบการควบคุมการใช้สารสนเทศ (Information System Control ) Firewall 2. การทำให้มั่นใจในความพร้อมใช้ของข้อมูลและสารสนเทศ Password Backup Server สำรอง 1. การทำให้มั่นใจในคุณภาพของข้อมูลและสารสนเทศ Social media

ความปลอดภัยในระบบสารสนเทศ สถานที่ตั้ง SERVER ปลอดภัย ระบบไฟฟ้าสำรอง (UPS) ที่ได้มาตรฐาน สำรองข้อมูลไว้ในอาคารและนอกอาคาร กำหนดสิทธิ์ในการควบคุมการเข้าถึงข้อมูล ระเบียบปฏิบัติในการยืม – คืนเวชระเบียน ระบบจัดการความเสี่ยง

แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ (social media) 1. ต้องอยู่บนพื้นฐานจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ 2.เพื่อการปรึกษา รายงานแพทย์ ติดตามอาการหรือสั่งการรักษา 3. การให้ข้อมูลเหตุการณ์ต้องดำเนินการโดยผู้บริหารสูงสุดหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น 4. เจ้าหน้าที่ทุกคนมีหน้าที่ร่วมกันเฝ้าระวังข่าวสารทางช่องทางสื่อต่างๆ

แนวทางการแก้ไขการใช้ SOCIAL MEDIAที่ไม่เหมาะสม

ความพร้อมใช้งาน Work station Server Network (LAN/WIFI) ระบบไฟฟ้าสำรอง ฐานข้อมูลสำรอง

Network

Backup สำรองข้อมูลแบบตั้งเวลา Full Data เวลา 24.00 น. Transaction ทุก 2 ชั่วโมง Master Server Report Server Full Data เวลา 02.00 น. Restore Data เวลา 05.00 น. สำรองข้อมูลแบบตั้งเวลา Full Data เวลา 02.00 น. Transaction ทุก 2 ชั่วโมง

ความปลอดภัยในระบบสารสนเทศ สถานที่ตั้ง SERVER ปลอดภัย มีระบบไฟฟ้าสำรอง (UPS) ที่ได้มาตรฐาน มีการสำรองข้อมูลไว้ในอาคารและนอกอาคาร มีการกำหนดสิทธิ์ในการควบคุมการเข้าถึงข้อมูล (Access Control) มีระเบียบปฏิบัติในการยืม – คืนเวชระเบียน

การวิเคราะห์ ออกแบบ และวางระบบ นำไปใช้ ออกรายงาน

Software

โปรแกรมคิวรับบริการ HYGGE โปรแกรมบันทึกและจัดเก็บ ข้อมูลการบริการผู้ป่วย HOMC-EMR โปรแกรมบันทึกและจัดเก็บ ข้อมูลผู้ป่วยด้านเทคนิค LAB&LABVIEW โปรแกรมบันทึกและจัดเก็บ ข้อมูลผู้ป่วยเอกซเรย์ PACs โปรแกรมบันทึกและจัดเก็บ ข้อมูลลูกหนี้ตามสิทธิ์ HCCSCD&AR โปรแกรมบันทึกและการจัดเก็บ ข้อมูลการเงินผู้ป่วย PAYM

การวัดผลงาน วิเคราะห์ทบทวนทางคลินิก สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้โดยไม่ต้องรอเก็บรวบรวมเอกสารตามหน่วยงาน

ความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย Patient Identification GFR Drug Allergy Drug Allergy Drug Interaction Patient Identification

Sepsis ปรับ CPG

การรักษาความลับ Privacy รายการ 2558 2559 2560 2561 จำนวนผู้ป่วยร้องเรียนเรื่องการเปิดเผยข้อมูล การกำหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูลแต่ละ user การแจ้งเตือน User ที่ไม่มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูลในส่วนนี้

PEOPLEWARE แบ่งปันความรู้ประสบการณ์และทบทวน การจัดอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ การบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล การใช้งานโปรแกรมที่ปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรมพื้นฐาน การใช้สื่อสังคมออนไลน์ แบ่งปันความรู้ประสบการณ์และทบทวน เผยแพร่คู่มือการใช้โปรแกรมและความรู้ต่างๆ ในอินทราเน็ตของโรงพยาบาล

การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์โรงพยาบาล เพิ่มรายได้เพื่อความยั่งยืน Financial Information System GV-INVENTORY ระบบคลัง ซ่อมบำรุง GL - ระบบบัญชีการเงินการคลัง เงินเดือน ค่าตอบแทน ลูกหนี้ STRATEGIC PLANFIN MANAGEMENT

PLANFIN แจ้งเตือนเมื่อมีผู้ป่วยไม่ลงทะเบียนรับบริการ แจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยค้างชำระ แจ้งยอดผู้ป่วยใช้อุปกรณ์เบิกส่วนเกินสิทธิ์

รายได้แพทย์แผนไทย

รายได้โครงการ DPAC MK

ลดค่าถ่ายเอกสาร

การส่งตรวจวิเคราะห์ภายนอกอย่างเหมาะสม

การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์โรงพยาบาล บูรณาการด้านภาคีเครือข่าย PCUรพสต. รพช. Web Base เครือข่ายศูนย์ข้อมูล ลดความแออัด ความต่อเนื่องการรักษา ข้อมูลระดับเขต เขต 5

ปริมาณการใช้งานเครือข่ายศูนย์ข้อมูล

จำนวนอุบัติการณ์ข้อมูลสูญหาย/ผิดพลาดในฐานข้อมูล (ถูกต้อง ครบถ้วน) ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2559 2560 2561 จำนวนอุบัติการณ์ข้อมูลสูญหาย/ผิดพลาดในฐานข้อมูล (ถูกต้อง ครบถ้วน) 0 ครั้ง/ปี 0 ครั้ง ร้อยละของการบริการข้อมูลสารสนเทศได้ทันเวลาทุกประเภท (ทันเวลา) 100 % 100% จำนวนอุบัติการณ์เครื่องแม่ข่าย/ระบบเครือข่ายไม่สามารถ ให้บริการได้เกิน 30 นาที (ปลอดภัย) 2ครั้ง ร้อยละของความพึงพอใจในการบริการสารสนเทศ >70% 70.9% 71.64% 74% จำนวนผลงานวิจัย/R2R/ผลงานคุณภาพในองค์กรที่ได้รับการเผยแพร่ > 2เรื่อง/ปี N/A 10 เรื่อง 35 เรื่อง

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด สถิติการเกิดปัญหาระบบล่ม (ระบบserver) (เป้าหมาย 0 ครั้ง) ดำเนินการเพิ่ม Hard disk และจัดทำระบบสำรองข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน แผนการปรับปรุงพัฒนาต่อเนื่อง วิเคราะห์วางแผนการปรับปรุงระบบเทคโนโลยี DR-SITE

งานเวชระเบียน

บทบาทหน้าที่ 1.กำหนดนโยบาย ในการบันทึกเวชระเบียนให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้องตามมาตรฐาน 2.กำหนดการจัดเก็บเวชระเบียนเพื่อป้องกันการเสียหาย สูญหาย และความปลอดภัยของเวชระเบียน 3.กำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการรักษาความลับของข้อมูล 4.กำหนดนโยบายการทบทวนคุณภาพ(ความเหมาะสมในการรักษา)และความครบถ้วนสมบูรณ์ของเวชระเบียน เพื่อนำไปพัฒนา

เป้าหมาย * เพื่อพัฒนาบริหารเวชระเบียนให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน(สมบูรณ์ตามเกณฑ์ที่กำหนด) ปลอดภัย(รักษาความลับ สูญหาย เสียหาย) และทันเวลา(ค้นหาทันเวลา บันทึกในเวลาที่กำหนด ตอบสนองความต้องการผู้ใช้)

การทบทวนเวชระเบียน ความถี่ เกณฑ์ รายงานผล ทุก 1 เดือน ตามแบบประเมินมาตรฐาน สปสช. เกณฑ์ ทีม IM และหน่วยงานต่างๆ รายงานผล

6 3 24.78 16.14 ข้อมูล/ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2557 2558 2559 2560 2561 ร้อยละความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยนอก  ≥ 80% 66.38 n/a 69.28 77.42 82.8 ร้อยละความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยใน  81.89 80.2 81.95 89.28 เวชระเบียนสูญหาย 6 3 อัตราการเกิด code error ผู้ป่วยนอก < 5% 24.78 16.14 อัตราการเกิด code error ผู้ป่วยใน 3.47 1.96

พัฒนาคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน เพิ่มความสมบูรณ์เวชระเบียน ผู้ป่วยนอก *ประกาศแนวปฏิบัติ *ปรับปรุงแบบฟอร์ม *audit *ประชุมทีมที่เกี่ยวข้อง *ติดตามผลเป็นระยะ

จุดอ่อนของการบันทึก ผู้ป่วยนอก *หมวดที่ได้คะแนนน้อยที่สุดคือ Patient Profile -เกณฑ์ที่ได้คะแนนน้อย คือ ข้อ 3 ไม่บันทึกข้อมูลญาติ ข้อ4 ไม่บันทึกประวัติแพ้ยา ข้อ 5 ไม่บันทึกหมู่เลือด และ6 ไม่บันทึกวัน เดือนปี ที่บันทึกข้อมูล *ลำดับที่ 2 คือ Treatment/Investigation -เกณฑ์ที่ได้คะแนนน้อย คือ ข้อ 3 ไม่บันทึกยาที่ให้ กรณีไม่สั่งยาให้เขียน N/A ข้อ 4 ไม่บันทึกคำแนะนำ และข้อ 7 ลายมือชื่ออ่านไม่ออก การแก้ไข แจ้งองค์กรแพทย์ *ลำดับที่ 3 History Visit -เกณฑ์ที่ได้คะแนนน้อย คือ ข้อ 5 ไม่บันทึกการแพ้ยา ข้อ 6 ไม่บันทึกประจำเดือนในผู้หญิงอายุ 11-60 ปี และข้อ 7 ไม่บันทึกประวัติสารเสพติด การแก้ไข แจ้งผลการตรวจให้องค์กรแพทย์และผู้เกี่ยวข้องทราบ ปรับแบบฟอร์มการบันทึก OPD Card

พัฒนาคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน เพิ่มความสมบูรณ์เวชระเบียนผู้ป่วยใน *ประกาศแนวปฏิบัติ *ปรับปรุงแบบฟอร์ม *audit *ประชุมทีมที่เกี่ยวข้อง *ติดตามผลเป็นระยะ

จุดอ่อนของการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยใน *หมวดที่ได้คะแนนน้อยที่สุดคือ History/Physical Exam สาเหตุ - ไม่บันทึก บันทึกไม่ครบถ้วน แบบฟอร์มไม่เอื้อต่อการบันทึก การแก้ไข -ปรับแบบฟอร์มใบบันทึกประวัติตรวจร่างกาย(ปลายปี2559) - แจ้งผลการตรวจสอบภาพรวมในองค์กรแพทย์ *รองลงมา คือ Informed Consent คำแนะนำไม่ตรงประเด็น การแก้ไข -ปรับแบบฟอร์ม Informed Consent ผู้ป่วยผ่าตัด (ต้นปี 2560)

ลดการหาเวชระเบียนไม่พบ/สูญหาย พัฒนาระบบป้องกันเวชระเบียนสูญหาย ลดการหาเวชระเบียนไม่พบ/สูญหาย -พัฒนาระบบการติดตามเวชระเบียน -พัฒนาระบบ EMR -ปรับ Guide card จากสีส้มเป็นสีน้ำเงิน -มอบหมายผู้รับผิดชอบ -กวดขันระเบียบการยืมและคืน

การพัฒนาคุณภาพเวชระเบียน -ตั้งคณะทำงาน Audit(ตุลาคม2560) -พัฒนาทีม Audit -สื่อสารทำความเข้าใจกับทีมที่เกี่ยวข้อง -อบรมการสรุปเวชระเบียน และการให้รหัสโรค เพิ่มประสิทธิภาพการสรุปเวชระเบียนเพื่อเพิ่มค่า Adj RW ปีงบประมาณ ก่อน Audit หลัง Audit ผลต่าง ยอดเงินที่ได้ 2559 18967.9835 21513.1110 2545.1275 19,088,456.25 2560 16495.4362 19633.6930 3138.2568 23,536,926.00 2561 15073.7200 18213.2588 3139.5388 22,234,039.48

การ Audit การให้รหัสโรค รายการ เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2560 2561 อัตราการเกิด code error ผู้ป่วยนอก < 5% 24.78 16.14 ปัญหาที่พบ ผู้ป่วยนอก -แพทย์ไม่สรุปโรค -ลายมือแพทย์อ่านไม่ออก -เจ้าหน้าที่ให้รหัสโรคไม่ครบถ้วน ไม่ตรงกับที่แพทย์สรุป -แผนกที่พบ error มาก *EYE *แผนกอายุรกรรม *แผนกศัลยกรรม *ENT การแก้ไข *แจ้งองค์กรแพทย์ *Plan ใช้ระบบ EMR *Feed back เจ้าหน้าที่ผู้ให้รหัสโรคทราบ *อบรมเจ้าหน้าที่ผู้ให้รหัสโรค *จัดระบบพี่เลี้ยง

การ Audit การให้รหัสโรค รายการ เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2560 2561 อัตราการเกิด code error ผู้ป่วยใน < 5% 3.47 1.96 ปัญหาที่พบ ผู้ป่วยใน -แพทย์สรุปโรคและหัตถการไม่ครบ -ลายมือแพทย์อ่านไม่ออก -แผนกที่พบ error มาก *แผนกอายุรกรรม *แผนกศัลยกรรม *แผนกศัลยกรรมกระดูก การแก้ไข *แจ้งองค์กรแพทย์ *จัดทีมแพทย์ Audit chart

SAFETY TIMLINESS INTEGRITY ACCURACY vision