การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 2/2556 วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ. ศ ณ ห้องประชุมทางไกล SC1218 และ SC216.
Advertisements

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
ผลผลิตที่ 1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการตรวจสอบบัญชี
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
ระเบียบวาระการประชุม
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
2. การส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพฯ : 28 โรงเรียน
Change 59 Road Map “เปลี่ยน...เพื่อสิ่งที่ดีกว่า” แนวทางการปฏิบัติงาน
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การทบทวนผลการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2559
แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP)
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560 อภิชาติ จำเริญพัฒน์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการสำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา โทร 081 682 2367 E-mail : toyapc@hotmail.com

หลักการดำเนินงานเกษตรแปลงใหญ่

ระบบส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ ระบบส่งเสริมการเกษตรที่ยึดพื้นที่เป็นหลัก (area-based approach) ดำเนินงานในลักษณะบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีผู้จัดการแปลงเป็นผู้บริหารจัดการพื้นที่ ในทุกกิจกรรมตลอด supply chain

หลักการดำเนินการเกษตรแปลงใหญ่ พื้นที่เหมาะสมสอดคล้องกับ AGRIMAP มีกระบวนการกลุ่มอยู่ก่อน : สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน มีแหล่งน้ำชัดเจน/ปริมาณน้ำเพียงพอ มีตลาดรองรับ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่ กำหนดเป้าหมายและแผนปฏิบัติที่ชัดเจน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร กำหนดมาตรฐานการผลิต ผู้จัดการแปลงที่มีความสามารถ

เป้าหมาย : ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มโอกาสแข่งขัน ตัวชี้วัด : ต้นทุนต่อหน่วยลดลง ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น พิจารณาจากกิจกรรม การใช้ปัจจัยการผลิต การใช้แรงงานและเครื่องจักรกลการเกษตร การปรับปรุงดิน การบริหารจัดการ ทีมงานหลัก : การตลาด – สหกรณ์จังหวัด การผลิต – เกษตรจังหวัด เพิ่มผลผลิต – พัฒนาที่ดิน บริหารจัดการ – เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ผู้จัดการแปลง : เกษตรอำเภอ/ปศุสัตว์อำเภอ/ประมงอำเภอ/สปก./สหกรณ์/ชลประทาน

เป้าหมายการดำเนินงานแปลงใหญ่ ปี 2560 ประเภท 2559 2560 เก่า 600 ใหม่ 400 เตรียมความพร้อม 512* ที่มา : สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร, 2559

Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผน ปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนาการผลิต 1. การจัดอบรมเจ้าหน้าที่ IFPP 2. พัฒนาผู้จัดการแปลง 3. พัฒนาเกษตรกรสู่การเป็นผู้จัดการแปลง 4. อบรมบัญชีต้นทุนอาชีพแก่สมาชิกกลุ่ม 5. ทบทวนปรับปรุงแผนและเป้าหมายของกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. วิเคราะห์และวางแผนการตลาด และจัดทำแผนธุรกิจกลุ่ม (ระหว่างผู้ผลิตและผู้ซื้อ) 4. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน 4. พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี 2559 ระยะเวลา พ.ย. 59 -ม.ค. 60 พ.ย. 59- ม.ค. 60 พ.ย. 59- ก.ย. 60 พ.ย. 59 - ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 หน่วยงาน กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสส./กสก. เป้าหมาย แปลงใหญ่ ปี 2559 จำนวน 600 แปลง/กลุ่มสามารถบริหารจัดการแปลงในด้านการวางแผน/จัดการการผลิต การตลาดและการบริหารจัดการกลุ่มได้ดีขึ้น 1. ลดต้นทุน 20% 2. เพิ่มผลผลิต 20% 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ

Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ - แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำ แผนปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนาการผลิต 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2. จัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นทุกแปลง (จำนวนสมาชิก ชนิดสินค้า ขนาดพื้นที่ ฯลฯ) 3. เสนอข้อมูลผ่าน SC และคณะอนุกรรมการฯ เห็นชอบรับรองแปลง 4. แจ้งผลการพิจารณาให้ฝ่ายเลขาฯ (กสก.) ภายใน มค. 60 5. บันทึกข้อมูลแปลงที่ผ่านการรับรองในระบบ 6. คัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. ทีมผู้จัดการร่วมกับเกษตรกรวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแปลงทั้ง 5 ด้าน 3. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. กำหนดเป้าหมายการพัฒนาและจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี 2560 ระยะเวลา พ.ย. 59-ม.ค. 60 ธ.ค. 59-ก.พ. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ธ.ค. 59-ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 หน่วยงาน ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสส./กสก. เป้าหมาย แปลงใหญ่ ปี 2560 จำนวนไม่น้อยกว่า 400 แปลง 1. ลดต้นทุน 20% 2. เพิ่มผลผลิต 20% 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ

Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ - แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผนปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนา การผลิต กิจกรรม 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2. จัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นทุกแปลง (จำนวนสมาชิก ชนิดสินค้า ขนาดพื้นที่ ฯลฯ) 3. คัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการกลุ่ม 1. เกษตรกรวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแปลงทั้ง 5 ด้าน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 4. ประเมินศักยภาพของกลุ่ม 1. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 2. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด แปลงเตรียมความพร้อม ระยะเวลา พ.ย. 59-ม.ค. 60 ธ.ค. 59-ก.พ. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ธ.ค. 59-ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 หน่วยงาน กสก. ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง กสก./เกษตรกร ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสก. แปลงเตรียมความพร้อม จำนวน 512 แปลง (ส่งเสริมเพื่อการรวมกลุ่มในเวลา 6 เดือน หากพร้อมให้รับรองเป็นแปลงใหญ่ ภายในปี 2560) 1. ลดต้นทุน 2. เพิ่มผลผลิต 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ เป้าหมาย

2. ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนปฏิบัติงานปี 2560

ผลการดำเนินงานเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2559 9 ประเภท : ข้าว พืชไร่ ไม้ยืนต้น ผัก/สมุนไพร ไม้ผล หม่อน กล้วยไม้ ปศุสัตว์ และ ประมง 33 ชนิดสินค้า 600 แปลง 1,539,866.41 ไร่ เกษตรกร 96,697 ราย

มูลค่าเพิ่มจากแปลงใหญ่ 12 ชนิดสินค้า ปี 2559 พื้นที่ (ไร่) เกษตรกร (ราย) ต้นทุน (บ/ไร่) ผลผลิต (กก/ไร่) มูลค่าเพิ่มรวม (ล้านบาท) เดิม ใหม่ ผลผลิต ต้นทุน รวม 1.ข้าว 949,254 63,989 4,222 3,420 583 659 758 431 1,188 2.ข้าวโพด 27,978 2,221 4,158 3,214 1,050 1,192 26 32 58 3.มันสำปะหลัง 86,778 4,960 4,775 3,692 3,750 4.793 94 136 230 4.ผัก/สมุนไพร 11,369 2,509 5,812 4,853 1,750 2,279 11 63 74 5.ปาล์มน้ำมัน 272,600 6,949 10,574 8,998 3,400 4,000 430 818 1,248 6.ทุเรียน 15,280 1,485 23,360 19,692 2,000 2,308 56 376 432 7.มังคุด 6,762 1,257 6,246 5,266 408 471 7 25

มูลค่าเพิ่มจากแปลงใหญ่ 12 ชนิดสินค้า ปี 2559 (ต่อ) พื้นที่ (ไร่) เกษตรกร (ราย) ต้นทุน (บ/ไร่) ผลผลิต (กก/ไร่) มูลค่าเพิ่มรวม (ล้านบาท) เดิม ใหม่ ผลผลิต ต้นทุน รวม 8.ลำไย 21,113 2,230 22,613 19,062 1,500 1,731 75 171 246 9.หม่อนไหม 834 382 10,415 9,568 598 638 1 10 11 10.กล้วยไม้ 607 33 156,000 120,0000 500 550 9 4 13 11.โคเนื้อ 3,501 1,333 30,769 29,169 15,600 18,000 6 588 594 12.ปลานิล 17,294 1,563 19,730 18,003 566 612 29 62 91 ผลรวมทั้งหมด 1,396,077 87,308 1,502 2,715 4,217 ผลรวมเฉพาะพืช 1,392,576 86,015 1,467 2,065 3,532 ค่าเฉลี่ยมูลค่าเพิ่มที่เกษตรกรได้รับ= 41,060 บาท/คน (คิดเฉพาะด้านพืช)

ผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สมาชิกแปลงใหญ่ปรับตัว และนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ : Laser leveling ระบบน้ำหยด Motor Pool การรวมกลุ่มสมาชิกแปลงใหญ่ : สหกรณ์ 122 กลุ่ม วิสาหกิจชุมชน 393 กลุ่ม พัฒนาให้เกษตรกรสู่ (Smart Farmer) 67,200 ราย พัฒนาคุณภาพสินค้าในแปลงใหญ่ : GAP(พืชอาหาร) 38,000 ราย เกษตรอินทรีย์(ข้าว พืชผัก ไม้ผล) 1,083 ราย RSPO(ปาล์มน้ำมัน) 99 ราย

สถานภาพด้านชลประทาน แปลงใหญ่ ปี 2559 จำนวน 600 แปลง ระบบน้ำสมบูรณ์ 92 แปลง แหล่งน้ำ อปท. 261 แปลง กำลังจัดหาแหล่งน้ำ 247 แปลง (ชป 218 แปลง ทน 10 แปลง ทบ 19 แปลง)

สินเชื่อเพื่อสนับสนุนระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

มติ ครม. วันที่ 22 พย.59 อนุมัติโครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ยกเลิก 2 มติ ครม. ที่ผ่านมา จำนวน 2,000 แปลง วงเงิน 10 ล้านบาท ระยะเวลา 5 ปี อัตราดอกเบี้ย 0.01% ให้องค์กรเกษตรกรจำนวน 53 กลุ่ม วงเงินกู้ 133.55 ล้านบาท ที่ได้รับสินเชื่อจากมติเดิม ดำเนินการต่อไป ระยะเวลาโครงการ 1 พย. 59 – 30เมย.70 กสก และ ธกส จัดทำคู่มือ จัดส่งให้จังหวัดเรียบร้อยแล้ว

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

กรมส่งเสริมการเกษตร ได้จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ในระหว่างวันที่ 11 – 13 มกราคม 2560 ที่ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์ให้ผู้เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและเกษตรกร ได้เรียนรู้สรุปบทเรียนเพื่อพัฒนาการดำเนินงานร่วมกัน บุคคลเป้าหมาย 1,700 คน กิจกรรมในการสัมมนา ประกอบด้วย ในห้องประชุม -ให้นโยบายโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - บรรยายความรู้ใน 3 ประเด็น ด้านการลดต้นทุน ด้านการ บริหารจัดการ และด้านการตลาด โดยวิทยากรผู้มีความรู้และ ประสบการณ์มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นอกห้องประชุม จัดนิทรรศการ ได้แสดงผลสัมฤทธิ์และความสำเร็จการการดำเนินงานแบบแปลงใหญ่ ตัวอย่างแปลงใหญ่ที่ประสบความสำเร็จตามกลุ่มสินค้า 9 ประเภท

สรุปผลการสัมมนา ได้สรุป 12 ขั้นตอนการดำเนินการ 9 แนวทางการขับเคลื่อนแปลงใหญ่ของเครือข่ายแปลงใหญ่ระดับประเทศ ประเด็นการพัฒนา จากการแบ่งกลุ่ม 9 เขต 71 ข้อ

การจัดตั้งกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่

จากเวทีรวมพลคนแปลงใหญ่ เลือกตั้งคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ ระดับจังหวัด เขต และประเทศ คณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ ระดับประเทศ 9 คน 1. นายวลิต เจริญสมบัติ จังหวัดราชบุรี ประธาน 2. นายจิตติ เจียมเจือจันทร์ จังหวัดอุทัยธานี รองประธาน คนที่ 1 3. นายบุญมี สุระโคตร จังหวัดศรีสะเกษ รองประธาน คนที่ 2 4. นายวิวัฒน์ นุ่มกำเนิด กรุงเทพมหานคร กรรมการ 5. นายพันธ์ศักดิ์ จิตรรัตน์ จังหวัดกระบี่ กรรมการ 6. นายอุดม วรัญญูรัฐ จังหวัดจันทบุรี กรรมการ 7. นายพัด ไชยวงศ์ จังหวัดเชียงใหม่ ประชาสัมพันธ์ 8. นายดลรอมาน สาเมาะบาซา จังหวัดปัตตานี เหรัญญิก 9. นายวุฒิไกร ไทยประยูร จังหวัดกาฬสินธุ์ เลขานุการ ได้ปฏิญาณแสดงเจตนารมณ์ในการขับเคลื่อนแปลงใหญ่

การประชุมคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ ระดับจังหวัด จัดประชุมทุก 4 เดือน (ปีละ 2 ครั้ง) ระดับเขต จัดประชุมทุก 3 เดือน (ปีละ 4 ครั้ง) ระดับประเทศ จัดประชุมทุก 2 เดือน (ปีละ 6 ครั้ง)

การปรับเงื่อนไขและเกณฑ์แปลงใหญ่

เงื่อนไขและเกณฑ์เดิม เป็นการรวมแปลงผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน แปลงไม่อยู่ติดกันเป็นผืนเดียว พื้นที่มีความเหมาะสม และมีศักยภาพที่จะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจ เกษตรกรสมัครใจ พร้อมที่จะพัฒนาการผลิตและการตลาดร่วมกัน โดยการส่วนร่วมตลอดกระบวนการพัฒนา ขนาดพื้นที่ดำเนินการ พืชไร่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และข้าว มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ไร่ ขึ้นไป และเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 50 รายขึ้นไป ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ หรือพืชอื่น ๆ มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 300 ไร่ ขึ้นไป หรือเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 50 รายขึ้นไป ผ่านการรับรองจากคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด

การปรับปรุงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1. เงื่อนไข ลดขนาดแปลง พืชไร่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และข้าว มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 300 ไร่ ขึ้นไป และเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 รายขึ้นไป ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ พืชอื่น ๆ ปศุสัตว์ และประมง มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 300 ไร่ ขึ้นไป หรือเกษตรกรสมัครใจเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 รายขึ้นไป

การปรับปรุงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. การลดขั้นตอนการรับรองแปลง - แต่งตั้งคณะทำงานรับรองแปลง (SC ประธาน/เกษตรจังหวัด-เลขานุการ) อยู่ภายใต้อนุฯจังหวัด - องค์กรเกษตรกรสมัครเข้าร่วมแทนสมาชิกแต่ละราย งกา

หลักการของแปลงใหญ่ ง่ายต่อการเข้าถึง : รวมตัวกันได้ จับเป็นกลุ่มผลผลิตเกษตรชนิดเดียวกัน ดำเนินการได้เลย ขนาดพื้นที่เหมาะสม : ไม่จำกัดขนาดและจำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วม พัฒนาให้ถึงเป้าหมาย : ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ขยายโอกาส พื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri Map สามารถรวมเป็นแปลงใหญ่ได้ :ใช้เทคโนโลยีเข้าไปปรับพื้นที่ให้เหมาะสม ยกระดับ : มาตรฐาน ประสิทธิภาพการผลิต เน้นผลผลิตของแปลงใหญ่

หลักการของแปลงใหญ่ (ต่อ) 6. แหล่งน้ำ : พัฒนาตามความจำเป็น/เหมาะสม 7. กระบวนการกลุ่ม : - กลุ่มเดิม (สหกรณ์/วิสาหกิจชุมชน) – แบ่งเป็นกลุ่มย่อยทำแปลงใหญ่ได้ - ไม่มีกลุ่ม – พัฒนาให้เกิดกลุ่ม ใช้เวลา 8. Economy of scale : ตัดสินด้วยเกณฑ์ของแหล่งทุน ขึ้นกับกิจกรรมทีกลุ่มขอรับการสนับสนุน 9. ความสมัครใจ : เป็นสมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่ด้วยความสมัครใจ และดำเนินการภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเป้าหมายของแปลงใหญ่