เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลำดับที่ 1 เมื่อเข้าสู่ web site “ธนาคารแบบก่อสร้าง”
Advertisements

1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
ชื่อวิทยากร นายสุรศักดิ์ วงษ์เหม ที่อยู่ ๔๙๑ หมู่ ๔ ต. พนานิคม อ. นิคมพัฒนา จ. ระยอง โทร ๐๘๑ ๘๗๔๒๖๒๙ Facebook.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
แผนบูรณาการเชิง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 24 ก. พ
นางสาวจันสิมา ดีสมบูรณ์ ชื่อเล่น น้องเก๋ ตำแหน่ง ครู วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีชัยนาท Phone : Facebook :
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
นโยบาย และนโยบายการศึกษา
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
การพัฒนาการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
“การเพิ่มผลผลิตผู้รับเหมา”
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การพัฒนาดิจิทัลคอลเลคชั่น
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
แนวทางการดำเนินโครงการ โครงการ Internationalization Funds
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กองบำรุงรักษามาตรวัดน้ำ ฝ่ายมาตรวัดน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
1 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
การตรวจเอกสาร ใบคำขออนุญาตประกอบวิชาชีพครู
สำนักงาน กศน.จังหวัดยะลา
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภคการตลาดบนอินเตอร์เน็ต และการโฆษณา
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
Adam’s Love.
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
บทที่ 8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ คณะศึกษาดูงาน หลักสูตรการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วันที่ 5 มกราคม 2561 เวลา 10.30 น. ห้องประชุมนครเป็งจาล สำนักงานเทศบาลนครขอนแก่น

แผนพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลนครขอนแก่น โดย นางวรพรรณ ธุลีจันทร์ ผู้อำนวยการกองวิชาการและแผนงาน วันที่ 5 มกราคม 2561 เวลา 10.30 น. ห้องประชุมนครเป็งจาล สำนักงานเทศบาลนครขอนแก่น

อำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น  ภารกิจถ่ายโอนตามกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ปัญหาและความต้องการของประชาชน ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ กลุ่มจังหวัดและจังหวัด แผนชุมชน กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาของ อปท. ในเขตจังหวัด นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี เทศบาลนครขอนแก่น โดยคำนึงถึง สถานะการคลังและความจำเป็นเร่งด่วน

แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ใช้แผนเป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณ เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย เป็นเครื่องมือสำหรับผู้บริหารในการกำกับ ควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือแผนที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงถึงรายละเอียด แผนงาน/โครงการพัฒนาและกิจกรรมที่ดำเนินการจริงทั้งหมดในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณนั้น ทำให้แนวทางในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความชัดเจนในการปฏิบัติมากขึ้นและเป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารงานของผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพโดยให้จัดทำแล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ประกาศใช้งบประมาณรายจ่ายฯ แผนการดำเนินงาน (Action Plan)

แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี : แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่กำหนดวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล แผนพัฒนาหมู่บ้านหรือแผนชุมชน อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงานโครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าและให้หมายความรวมถึงการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ** ให้จัดทำหรือทบทวนให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคมก่อนปีงบประมาณถัดไป จัดทำตาม 1.ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559 2.หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.2/ว 0600 ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2559 3.หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว 5797 ลงวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2559 4.หนังสือกระทรวงหมาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว 1617 ลงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2560 5.หนังสือกระทรวงหมาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0810.3/ว 6247 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2560

ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี จัดประชุมประชาคมท้องถิ่น เพื่อแจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนาและประเด็นที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมากำหนดแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (ผู้บริหาร+ตัวแทนสมาชิกสภาเทศบาล+ผู้ทรงคุณวุฒิ+ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ+ตัวแทนประชาคม) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ปลัดเทศบาล+หัวหน้าส่วนงาน+ตัวแทนประชาคม) รวบรวมแนวทางและข้อมูลนำมาวิเคราะห์ เพื่อจัดทำร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น เสนอ คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (ผู้บริหาร+ตัวแทนสมาชิกสภาเทศบาล+ผู้ทรงคุณวุฒิ+ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ+ตัวแทนประชาคม) พิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น อนุมัติ + ประกาศใช้ ** การเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง ดำเนินการเหมือนการจัดทำแผน ส่วนการแก้ไข เป็นอำนาจผู้บริหารท้องถิ่น

สัดส่วนการประชาคมท้องถิ่น สัดส่วนประชาคมท้องถิ่น องค์ประชุม สัดส่วนประชาคมท้องถิ่น ระดับการประชาคม หมายเหตุ ระดับชุมชน ระดับนคร ตั้งแต่ร้อยละ 60 ร้อยละ 60 – 100 -เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด น้อยกว่าร้อยละ 60 แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ร้อยละ 20 – 59.99 -สามารถประชุมได้ -รายงานการประชุม น้อยกว่าร้อยละ 20 แต่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 (ระดับชุมชน) ร้อยละ 3 (ระดับนคร) ร้อยละ 5.01 – 19.99 ร้อยละ 3.01 -19.99 -ชี้แจงเหตุผลความจำเป็นโดยละเอียดไว้ในรายงานการประชุม พร้อมรายงานให้ผู้กำกับดูแลทราบด้วย ** หากไม่สามารถดำเนินการประชุมประชาคมท้องถิ่นตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ในคราวประชุมครั้งต่อไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดประชุมประชาคมท้องถิ่นแบบประชารัฐ จากสัดส่วนประชาคมท้องถิ่นตามที่เห็นว่าสมควรหรือเหมาะสม และเมื่อประชุมเสร็จสิ้นให้แจ้งผลการประชุมให้ประชาชนในท้องถิ่นได้ทราบมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และรายงานผลการประชุมให้ผู้กำกับดูแลองค์กรปกครองท้องถิ่นทราบด้วย

องค์ประกอบสัดส่วนระดับหมู่บ้าน/ชุมชน จำนวน(คน) 1.สมาชิกสภาเทศบาลในเขตเลือกตั้งในชุมชนนั้นทุกคน ทุกคน 2.ประธานชุมชนนั้น 1 3.ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ที่มีหน่วยงานตั้งอยู่ในชุมชนนั้น 4.ผู้อำนวยการโรงเรียนของรัฐ/เอกชนหรือหัวหน้าหน่วยการศึกษาอื่นๆ ที่มีหน่วยงานตั้งอยู่ในชุมชนนั้น 5.หัวหน้าส่วนหรือตัวแทนราชการ/รัฐวิสาหกิจที่มีหน่วยงานตั้งอยู่ในชุมชนนั้นตามจำนวนที่ผู้บริหารท้องถิ่นเห็นสมควร(นอกเหนือจากข้อ3และข้อ4) เห็นสมควร 6.คัดเลือกจากกรรมการชุมชนในชุมชนนั้น 6 7.คัดเลือกจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชนนั้น(อสม.) 4 8.คัดเลือกจากสมาชิกอาสาป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อ.ป.พ.ร.)ในชุมชนนั้น 9.คัดเลือกจากกองทุนชุมชนเมือง ในชุมชนนั้น 10.คัดเลือกจากกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น กลุ่มเกษตรกร/กลุ่มสตรี/กลุ่มหัตถกรรม/กลุ่มแปรรูป เป็นต้น ในชุมชนนั้น 10 11.คัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ปราชญ์ชุมชน ในชุมชนนั้น 12.คัดเลือกจากอาสาพัฒนาชุมชน อาสาสมัครประชาสงเคราะห์ เยาวชน หมอดิน กลุ่มพลังทางสังคมอื่นๆ ในชุมชนนั้น 13.คัดเลือกจากชมรมผู้สูงอายุในชุมชนนั้น 14.คัดเลือกจากองค์กรทางธุรกิจ/ชมรมธุรกิจ/การลงทุนอุตสาหกรรม/การท่องเที่ยว ในชุมชนนั้น 5 15.คัดเลือกจากสื่อมวลชน 2 16.ประธานหอการค้าจังหวัด ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ถ้ามี 17.คัดเลือกจากบุคคลหรือกลุ่มบุคคลอื่นๆ ตามที่เทศบาลนครได้กำหนดขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในชุมชนนั้น หรือ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของตัวแทนจำนวนครัวเรือนในชุมชนนั้น (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง)

องค์ประกอบสัดส่วนระดับนคร จำนวน(คน) 1.สมาชิกสภาเทศบาลทุกคน ทุกคน 2.ท้องถิ่นอำเภอในอำเภอที่เทศบาลนครตั้งอยู่ 1 3.ปลัดอำเภอประจำตำบล หรือ ปลัดอำเภอผู้ประสานชุมชน หรือ อปท.นั้นๆ 4.คัดเลือกจากประธานชุมชนในเขตเทศบาลนคร 6 5.ตัดเลือกผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ที่มีหน่วยงานตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนคร 5 6คัดเลือกผู้อำนวยการโรงเรียนของรัฐ/เอกชนหรือหัวหน้าหน่วยการศึกษาอื่นๆ ที่มีหน่วยงานตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนคร 7.คัดเลือกหัวหน้าส่วนหรือตัวแทนราชการ/รัฐวิสาหกิจที่มีหน่วยงานตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนคร(นอกเหนือจากข้อ5และ6) 8.คัดเลือกจากกรรมการชุมชน ในเขตเทศบาลนคร 9.คัดเลือกจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน(อสม.) ในเขตเทศบาลนคร 4 10.คัดเลือกจากสมาชิกอาสาป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อ.ป.พ.ร.) ในเขตเทศบาลนคร 11.คัดเลือกจากคณะกรรมการกองทุนชุมชนเมือง ในเขตเทศบาลนคร 12.คัดเลือกจากกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น กลุ่มเกษตรกร/กลุ่มสตรี/กลุ่มหัตถกรรม/กลุ่มแปรรูป เป็นต้น ในเขตเทศบาลนคร 10 13.คัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ปราชญ์ชุมชน ในเขตเทศบาลนคร 14.คัดเลือกจากอาสาพัฒนาชุมชน อาสาสมัครประชาสงเคราะห์ เยาวชน หมอดิน กลุ่มพลังทางสังคมอื่นๆ ในเขตเทศบาลนคร 15.คัดเลือกจากชมรมผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลนคร 16.คัดเลือกจากองค์กรทางธุรกิจ/ชมรมธุรกิจ/การลงทุนอุตสาหกรรม/การท่องเที่ยว ในเขตเทศบาลนคร 17.คัดเลือกจากสื่อมวลชน ในเขตเทศบาลนคร 3 18.ประธานหอการค้าจังหวัด ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด 2 19.คัดเลือกจากบุคคลหรือกลุ่มบุคคลอื่นๆ ตามที่เทศบาลนครได้กำหนดขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในเขตเทศบาลนคร หรือ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของตัวแทนจำนวนครัวเรือนในเทศบาลนครนั้น (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง)

บรรยากาศการประชาคมท้องถิ่น ของเทศบาลนครขอนแก่น

เทศบาลนครขอนแก่น พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข ช่องทางการเผยแพร่ แผนพัฒนาของเทศบาลนครขอนแก่น เว็บไซต์เทศบาลนครขอนแก่น www.kkmuni.go.th หน่วยงานภายใน กองวิชาการและแผนงาน ข่าวประชาสัมพันธ์ คณะศึกษาดูงานหลักสูตรการพัฒนาชุมชนฯ สามารถติดตามกิจกรรมต่างๆได้ทาง Facebook : เทศบาล นครขอนแก่น ภาคกิจกรรม เทศบาลนครขอนแก่น พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข