ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 นายไกรสีห์ กรรณสูต กรรมการกำกับกิจการพลังงาน 22 กรกฎาคม 2558 แนวทางการส่งเสริมกิจการพลังงาน ให้มีประสิทธิภาพ และเสริมสร้างการแข่งขันที่เป็นธรรม.
Advertisements

กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
ผลผลิตที่ 1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการตรวจสอบบัญชี
ศพก. ระดับปานกลาง (B) 401 ศูนย์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
แนวทางการปรับปรุงแก้ไข การปฏิบัติงานโครงการสำคัญ
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ระเบียบวาระการประชุม
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP)
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
การปรับโครงสร้างและอัตรากำลัง ของกรมการข้าว
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
เกษตรกร 4.0 กับ Application ส่งเสริมการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561 วันที่ 7 กันยายน 2560 ณ โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี

ทิศทางการปฏิบัติงานโครงการสำคัญ ประเด็นการนำเสนอ ทิศทางการปฏิบัติงานตามนโยบาย Smart Agricultural Curve ปี 2561 ทิศทางการปฏิบัติงานโครงการสำคัญ ทิศทางการสนับสนุนการปฏิบัติงาน

ทิศทางการปฏิบัติงานตามนโยบาย Smart Agricultural Curve ปี 2561 3

ทิศทางการปฏิบัติงานตามนโยบาย Smart Agricultural Curve ปี 2561

ทิศทางการปฏิบัติงานตามนโยบาย Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ต่อ) Growth Times August 2558 October 2560 October 2561 – September 2564 นโยบาย ศพก. แปลงใหญ่ Zoning by Agi- Map เกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์ ยกกระดาษ A4 เป้าหมาย เน้นการบริหารจัดการด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยี ความสมดุลของ Demand และ Supply มูลค่าสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น (คุณภาพ ราคา และจำนวนผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป) แนวคิด บริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญแบบครบ วงจรใช้เทคโนโลยีนวัตกรรม องค์ความรู้ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนา Smart Production (High quality, Safety and Competitive) ออกสู่ตลาด 3. พัฒนา Smart Farmer, Smart Officer ให้เป็นมืออาชีพ รองรับเกษตร 4.0 4. สร้างการรับรู้โดยเน้น Information Operation (IO) 5. เน้นการทำงานแบบบูรณาการ นโยบายยกกระดาษ A4 บวก (A4 Plus Policy) นโยบายกระดาษ A4 + การบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจร + เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ ตัวชี้วัด 1. จำนวนงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ นำไปใช้ประโยชน์ 2. ความสมดุลของ Demand และ Supply สินค้า เกษตร 3. ดัชนีราคาสินค้าเกษตร ปี 2559 ปีแห่งการลดต้นทุน และ เพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร ปี 2560 ปีแห่งการยกระดับมาตรฐานการเกษตรสู่ความยั่งยืน (คุณภาพ ประสิทธิภาพ) เป้าหมาย (ทำน้อยได้มาก) ลดช่องว่างระหว่างเกษตร 1.0 เกษตร 2.0 เกษตร 3.0 เกษตร 4.0 2. เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรเพิ่มขึ้น 3. เกษตรกร/สถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็ง พึ่งพาตัวเอง ได้และมีความมั่นคง 4. การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร (ดิน น้ำ) และ สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน 1. ขยายผลนโยบาย A4 Plus + ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 2. สร้าง Demand ให้มากกว่า Supply ด้วยการ Promote สินค้าเกษตรไทยให้กว้างขวางในต่างประเทศ 3. มีการบริหารจัดการแบบธุรกิจเกษตร บริหารการตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องหรือเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (Creative Economy) นโยบายกระดาษ A4 + บริหารจัดการสินค้าเกษตร ครบวงจร + เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ 1. ดัชนีความผาสุกของเกษตร 2. รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตร 3. GDP ภาคการเกษตร 4. จำนวนงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่นำไปใช้ ประโยชน์ 5. ทรัพยากรการเกษตรที่มีการบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ ปี 2562-2564 ปีแห่งการเดินหน้า เร่งเครื่อง สู่เกษตร 4.0 (Marching and Accelerating toward Agriculture 4.0) ปี 2561 ปีแห่งการยกระดับคน การบริหารจัดการ มาตรฐานสินค้าเกษตร สู่เกษตร 4.0 (Enhancing Man, Management and Standard toward Agriculture 4.0) October 2559

แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ก่อนปี 2559 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 อุปสงค์-อุปทาน ช่วงกำหนด ช่วงการผลิต ช่วงเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว ช่วงการตลาดภายในประเทศ ช่วงการตลาดต่างประเทศ ตลาดนำการผลิต อุปสงค์-อุปทาน ช่วงกำหนด ช่วงการผลิต ช่วงเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว ช่วงการตลาดภายในประเทศ ช่วงการตลาดต่างประเทศ ตลาดนำการผลิต อุปสงค์-อุปทาน ช่วงกำหนด ช่วงการผลิต ช่วงเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว ช่วงการตลาดภายในประเทศ ช่วงการตลาดต่างประเทศ ตลาดนำการผลิต ไม่มีการวางแผนการผลิตและการตลาดข้าว การบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีน้อย อุปทานมากกว่าอุปสงค์ ชาวนามีต้นทุนการผลิตสูง ขายข้าวได้ราคาต่ำ กำไรน้อย ถูกเอารัดเอาเปรียบ คุณภาพข้าวไม่ได้มาตรฐาน มีการแข่งขันการตลาดสูง การขยายตลาดทำได้ยาก ราคาข้าวในตลาดโลก มีแนวโน้มลดลง วางแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร 5 ช่วง บูรณาการ 4 กระทรวง (พณ. กษ. กค. มท.) วางแผนการผลิตข้าวให้อุปทานสมดุลกับอุปสงค์ 5 ชนิดข้าว มีการประกาศพื้นที่ส่งเสริม การปลูกข้าว ปีละ 2 รอบ ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าว ในเขตไม่เหมาะสม ส่งเสริมการปลูกพืชหลังนา ทำแผนการผลิตข้าวล่วงหน้าก่อนฤดูปลูก ปรับปรุงกระบวนการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ขยายการทำนาแปลงใหญ่ เป็น 1,175 แปลง ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 300,000 ไร่ พัฒนาระบบการผลิตข้าวสาร Q ดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนและส่งเสริมการปลูกพืชหลังนาอย่างต่อเนื่อง 3 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการปลูกปุ๋ยพืชสด 2) โครงการปลูกพืช หลากหลาย 3) โครงการปลูกพืช อาหารสัตว์ทดแทนนาข้าว 7. สร้างการรับรู้ให้ชาวนา อย่างทั่วถึง วางแผนการผลิตข้าวให้ถูกต้องแม่นยำขึ้น ให้หน่วยงานระดับจังหวัดมีส่วนร่วมมากขึ้น ขึ้นทะเบียนเกษตรกร และวาดแปลง 9 ล้านแปลง ขยายการทำนาแปลงใหญ่ 2 เท่า (2,350 แปลง) พร้อมรับรอง GAP ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 2 เท่า เพิ่มอีก 300,000 ไร่ รวมเป็น 600,000 ไร่ เชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์ และข้าวGAP ครบวงจร ส่งเสริมการทำการเกษตรแบบแม่นยำ (Precision Agriculture) ผลักดันการสร้างนวัตกรรมข้าว และการเพิ่มมูลค่าข้าว

การขับเคลื่อนแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปี 2561 ภายใต้นโยบายยกกระดาษ A4 กิจกรรมสำคัญ การวางแผนการผลิตข้าว การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว การจัดการปัจจัยการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวในพื้นที่นาเหมาะสม (นาแปลงใหญ่/อินทรีย์) การควบคุมปริมาณการผลิตข้าว การพัฒนาชาวนา การบริหารจัดการรถเกี่ยวนวดข้าว การชะลอผลผลิตออกสู่ตลาด การจัดหาและเชื่อมโยงตลาด ตปท. การยกระดับเกษตรกรและผู้ประกอบการ (ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมข้าวและการเพิ่มมูลค่าข้าว ) การจัดทำอุปสงค์-อุปทาน ตัวช่วย ภาครัฐ - เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ - เงินสนับสนุนปัจจัยการผลิต - ชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการ ประชารัฐ หน่วยงานอื่นๆ เกษตรกร สถาบันเกษตรกร กษ. พณ. มท. กค./ธ.ก.ส. Single Command ใครทำ ต้องทำให้เกิดอะไร เป้าหมาย ชาวนามีรายได้เพิ่มขึ้น และมีความมั่นคงในอาชีพ เป้าหมาย ปลายทาง อุปทานสมดุลกับอุปสงค์ การผลิตข้าว มีประสิทธิภาพสูง มีคุณภาพได้มาตรฐาน การประกันความเสี่ยงการผลิตข้าว ชาวนาได้รับการพัฒนาเป็น Smart Farmer เพิ่มขึ้น ขับเคลื่อนด้วย บูรณาการงานสู่ AGENDA และ AREA เทคโนโลยี/นวัตกรรม/ องค์ความรู้ ส่งข้าวไป ตปท. ไม่ต่ำกว่า 10 ล้านตันข้าวสาร ราคาข้าวมีเสถียรภาพมากขึ้น การสร้างความเป็นธรรมทางการค้า การพัฒนาตลาดสินค้า (โครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์และข้าวGAP) ส่งเสริมภาพลักษณ์ประชาสัมพันธ์ข้าว/ผลิตภัณฑ์ข้าว/นวัตกรรมข้าว สร้างการรับรู้และขยายข้าวตลาดเฉพาะ

แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปี 2561 1. การจัดทำอุปสงค์ อุปทาน 1.1 จัดทำอุปสงค์ อุปทานสำหรับ การผลิต ปี 2561/62 (พณ./กษ.) 1.ช่วงกำหนดอุปสงค์อุปทาน 1. การวางแผนการผลิตข้าว 1.1 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการผลิต และการตลาดข้าวครบวงจร 5.81 ลบ. (กข.) 2. การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว 2.1 ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2561/62 64.50 ลบ. (กสก.) 3. การจัดการปัจจัยการผลิต 3.1 โครงการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดี 63.30 ลบ. (กข.) 3.2 ควบคุมปัจจัยการผลิตที่จำหน่าย (ปุ๋ยและ สารเคมี) 14.50 ลบ. (กวก.) 3.3 ควบคุมค่าเช่าที่นา (มท.) 4. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวในพื้นที่นา เหมาะสม 4.1 โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแปลง ใหญ่ 778.28 ลบ. (กข.,กสก.,พด.กสส.) 4.2 โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ 737.69 ลบ. (กข.) 4.3 โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Agriculture) (กข.) 4.4 โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพ ชั้นเลิศ 10.00 ลบ. (กข.) 4.5 โครงการจัดรูปที่ดินและปรับระดับพื้นที่นา 33.46 ลบ. (ชป.) 4.6 จัดการน้ำและการเพาะปลูกในเขตพื้นที่ ชลประทาน (ชป.) 5. การควบคุมปริมาณการผลิตข้าว 5.1 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสมการปลูก ข้าวไปเป็นพืชอื่นๆ/พืชอาหารสัตว์ /เกษตรผสมผสาน/ประมง ภายใต้การบริหาร จัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) 5.2 โครงการปลูกพืชอาหารสัตว์ทดแทนนาข้าว 1,071.63 ลบ.* (ปศ.) 5.3 โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย 864.53 ลบ.* (กสก.) 5.4 โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด 229.90 ลบ.* (พด.) 6. การพัฒนาชาวนา 6.1 โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 16.67 ลบ. (กข.) 6.2 โครงการสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรชาวนา และชาวนารุ่นใหม่ 6.00 ลบ. (กข.) 6.3 โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตสินค้าเกษตร 18.38 ลบ. (กข.) 7. การประกันความเสี่ยงการผลิตข้าว 7.1 โครงการประกันภัยข้าวนาปี 215.72 ลบ. (ธ.ก.ส.) 2.ช่วงการผลิต 1. การบริหารจัดการรถเกี่ยว นวดข้าว 1.1 บริหารจัดการ แอพพลิเคชั่นรถเกี่ยว นวดข้าวและ ประชาสัมพันธ์ (คน.) 2. การยกระดับเกษตรกร และผู้ประกอบการ 2.1 จัดวางระบบ GMP/HACCP ให้ โรงสี (คน.) 2.2 โครงการโรงสีติดดาว (คน.) 2.3 ส่งเสริมการสร้าง นวัตกรรมข้าวและการ เพิ่มมูลค่าข้าว (กข./สวก.) 3. ช่วงการเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว 1. การชะลอผลผลิตออกสู่ตลาด 1.1 โครงการสินเชื่อเพื่อ รวบรวมข้าวและสร้าง มูลค่าเพิ่มโดยสถาบัน เกษตรกร 406.05 ลบ. (ธ.ก.ส.) 1.2 โครงการสินเชื่อชะลอการ ขายข้าวเปลือกนาปี 1.3 โครงการชดเชยดอกเบี้ย ให้ผู้ประกอบการในการ เก็บสต็อก (คน.) 2. การสร้างความเป็นธรรมทาง การค้า 2.1 ตรวจสอบเครื่องชั่ง น้ำหนัก และปิดป้ายราคา ซื้อ (คน.) 2.2 ส่งเสริมการซื้อขายผ่าน ตลาดพันธะสัญญา (คน.) 3. การพัฒนาตลาดสินค้าข้าว 3.1 โครงการเชื่อมโยงตลาด ข้าวอินทรีย์และข้าวGAP 17.13 ลบ. (กข.) 3.2 การรณรงค์การบริโภค ข้าวและการ ประชาสัมพันธ์ (คน.) 3.3 เชื่อมโยงข้อมูลข้าวสี GI อินทรีย์ให้ตรงความ ต้องการตลาด (คน.) 3.4 ส่งเสริมการต่อยอด ผลิตภัณฑ์ และสินค้าแปร รูป (คน.) 3.5 ส่งเสริมตลาดออนไลน์ (คน.) 4.ช่วงการตลาด ในประเทศ 1. การจัดหาและเชื่อมโยง ตลาดต่างประเทศ 1.1 G to G (คต.) 1.2 การเจรจาขยาย ตลาดข้าว (คต.) 1.3 เร่งทำตลาดเชิงรุก ตลาดศักยภาพ (คต.) 2. ส่งเสริมภาพลักษณ์ ประชาสัมพันธ์ข้าว/ ผลิตภัณฑ์ข้าว/ นวัตกรรมข้าว 2.1 ประชาสัมพันธ์ข้าว หอมมะลิให้ถึงกลุ่ม ผู้นำเข้า (คต.) 3. สร้างการรับรู้และ ขยายข้าวตลาดเฉพาะ 3.1 ประชาสัมพันธ์ข้าว ตลาดเฉพาะให้ถึง กลุ่มผู้นำเข้า (คต.) 5.ช่วงการตลาดต่างประเทศ หมายเหตุ: *อยู่ระหว่างเตรียมการขอเสนองบกลาง ปี 2561 16 แผนงาน 39 โครงการ/กิจกรรม วงเงินงบประมาณด้านการผลิต 4,207.19 ล้านบาท เป้าหมาย กษ. ปี 2561 ปีแห่งการยกระดับคน การบริหารจัดการ มาตรฐานสินค้าเกษตร สู่เกษตร 4.0

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โครงการนำร่องการบริหารจัดการนาแปลงใหญ่ประชารัฐ โดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการบริหารจัดการผลิตข้าวในรูปแบบการใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมแม่นยำสูง (Precision Farming) ในนาแปลงใหญ่ประชารัฐ ให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิต และมีผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน วัตถุประสงค์ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตภาคเกษตรตั้งแต่ต้นน้ำสู่ปลายน้ำ ลดผลกระทบจากการเสี่ยงภัยด้านต่างๆ สร้างภาพลักษณ์ใหม่ทางด้านการเกษตรแก่คนรุ่นใหม่ และจูงใจให้คนรุ่นใหม่เหล่านั้นหันกลับเข้ามาประกอบอาชีพทำการเกษตรกันมากขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นาแปลงใหญ่ประชารัฐ บูรณาการหน่วยงาน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภายใน กษ. กข./กสก./พด./กสส./ชป./ ส.ป.ก./สศก./สป.กษ. หน่วยงานภายนอก กษ. NECTEC/พณ./ธ.ก.ส./ สถาบันการศึกษา ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตต่อไร่ ต. หัวเขา อ. เดิมบางนางบวช จ. สุพรรณบุรี พื้นที่ 3,000 ไร่ ยกระดับมาตรฐาน การผลิต พันธุ์ข้าวนุ่มน้ำตาลต่ำ กข43 บริษัท ซี.พี. รับผิดชอบผลผลิต หน่วยงานภาคเอกชน บ. ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด บ. สยามคูโบต้า คอร์เปอร์เรชั่นจำกัด บ. ธาอัส จำกัด มีแผนอีก 20 จุด ได้แก่ พิษณุโลก 10 จุด เชียงใหม่ กาฬสินธุ์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ สกลนคร จังหวัดละ 1 จุด เพชรบุรี 2 จุด ราชบุรี 3 จุด บริหารจัดการกลุ่มและผลผลิต ตลอดห่วงโซ่อุปทาน หมายเหตุ ใช้งบบูรณาการของหน่วยงานร่วมโครงการ

โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ (Premium grade) พื้นที่เป้าหมาย (นาแปลงใหญ่) พื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 10 แปลง ดังนี้ กาฬสินธุ์ (2 แปลง) ยโสธร (2 แปลง) ศรีสะเกษ (3 แปลง) สุรินทร์ (3 แปลง) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ (Premium Grade) ผลผลิตต่อไร่ > 500 กก./ไร่ ต้นทุนการผลิตลดลง> 20% เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ฤดูนาปี 2560 (ก.ย.-พ.ย. 60) การใส่ปุ๋ยแต่งหน้า สูตร 46-0-0 5-10 กก./ต่อไร่ หลังข้าวออกดอก 15-20 วัน ควรระบายน้ำออกเพื่อให้ข้าวสุขแก่สม่ำเสมอ เก็บเกี่ยวที่ 35 วันหลังข้าวออกดอก และลดความชื้นโดยการตากแดดให้ปริมาณความหอมสูงสุด ฤดูนาปี 2561 (เม.ย.-พ.ย. 61) ใช้เมล็ดพันธืข้าวหอมมะลิพันธุ์ดี ปรับปรุงบำรุงดิน โดยใช้พืชปุ๋ยสดและใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การบริหารจัดการน้ำที่เหมาะสม ป้องกันกำจัดศัตรูข้าวด้วยวิธีผสมผสาน การจัดการก่อนและหลังเก็บเกี่ยว งบประมาณโครงการ 10 ล้านบาท บริหารจัดการกลุ่มและผลผลิต ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ใช้งบจากโครงการส่งเสริมระบบการเกษตร แบบแปลงใหญ่

สนับสนุนการดำเนินงานผลิตข้าวGAP ของนาแปลงใหญ่ การขับเคลื่อนการก่อตั้งเวทีข้าวยั่งยืน (Sustainable Rice Platform : SRP) สนับสนุนการดำเนินงานผลิตข้าวGAP ของนาแปลงใหญ่ เพื่อพัฒนาและจัดทำมาตรฐานการผลิตข้าวที่ยั่งยืนที่มีการปฏิบัติเพิ่มขึ้นจากการผลิตข้าวตามระบบGAP โดยเรียกว่า GAP plus นำร่องที่จังหวัดอุบลราชธานี ขยายผล ปี 2560 ขยายผล ปี 2561 ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคกลาง ผลิตข้าวหอมมะลิ 10,000 ตัน ร้อยเอ็ด 5,000 ตัน อุบลราชธานี 5,000 ตัน ผลิตข้าวหอมมะลิ 10,000 ตัน ร้อยเอ็ด 5,000 ตัน อุบลราชธานี 5,000 ตัน ดำเนินการที่ อำเภอเดชอุดม เกษตรกร 77 ราย พื้นที่ 1,395 ไร่ ผลผลิต 500 ตัน ผลิตข้าว 1,000 ตัน ผลิตข้าว 100,000 ไร่ 65,000 ตัน

แผนประชาสัมพันธ์ : แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปี 2561 โครงการ/กิจกรรม ประเด็น การประชาสัมพันธ์ ช่วงเวลาดำเนินการ ตค.-ธค. 60 มค.-มีค.61 เมย.-มิย.61 กค.-กย.61 1.การวางแผนการผลิตข้าว การประกาศพื้นที่ส่งเสริมการปลูกข้าว - ปี 2561/62 รอบที่ 1 - ปี 2561/62 รอบที่ 2 2.โครงการส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแปลง ใหญ่ - หลักเกณฑ์การเข้าร่วมการทำนาแปลงใหญ่ - ประโยชน์ที่เกษตรกรจะได้รับจากการทำนา แปลงใหญ่ 3.โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ - ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกร - สนับสนุนเงินอุดหนุน 4.ส่งเสริมระบบการเกษตรแบบแม่นยำสูง (Precision Agriculture) ประชาสัมพันธ์โครงการนำร่องการบริหารจัดการนาแปลงใหญ่ประชารัฐโดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง 5.ปรับเปลี่ยนการผลิตข้าวเป็นปศุสัตว์/หญ้าอาหารสัตว์ - การรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ - การสนับสนุนเงินอุดหนุน 6.โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย 7.โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด 8.ส่งเสริมการสร้าง นวัตกรรมข้าวและการ เพิ่มมูลค่าข้าว ประชาสัมพันธ์ข้าว กข43 และข้าวอื่นๆ 8.โครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์และข้าวGAP - ผู้ประกอบการที่ผ่านการรับสมัคร - การรับซื้อข้าวอินทรีย์ และข้าวGAP

ทิศทางการปฏิบัติงานโครงการสำคัญ

ทิศทางการสนับสนุนการปฏิบัติงาน

ขอบคุณครับ