Globalization and the Law กฎหมายในโลกสมัยใหม่และ ความเคลื่อนไหวของสังคมที่เป็นพลวัตร Law and Globalization
ภาพรวม กฎหมาย รัฐ ความเชื่อศาสนา โลกาภิวัฒน์ เทคโนโลยี กระบวนการยุติธรรม วัฒนธรรม เพศภาวะ จารีต ประเพณ๊ Law and Globalization
กฎหมายกับเศรษฐกิจ ชนชั้น class Law and Globalization
อำนาจของชนชั้นกระฎุมฬีในระบอบทุนนิยม Super structure กฎหมาย, ศาสนา, จารีตประเพณี, ทฤษฎีการเมือง, ระบบการปกครอง, ศีลธรรม, เวลา, เงินตรา, พระเจ้า (ทุกสิ่งทุกอย่าง) Base structure ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ระหว่างชนชั้น มีปัจจัย vs ไม่มีปัจจัยการผลิต
อำนาจของชนชั้นกระฎุมฬีในระบอบทุนนิยม โครงสร้างส่วนบนและโครงสร้างส่วนล่าง มารกซ์ มองว่าสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏขึ้นมาในสังคมมนุษย์ เกิดจากความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่ไม่เสมอภาคเป็นพื้นฐาน โครงสร้างส่วนบน เกิดจากโครงสร้างส่วนล่าง โดยโครงสร้างส่วนบนทำหน้าที่สร้างความชอบธรรมให้ความสัมพันธ์ที่พิการของส่วนล่าง เช่น นิ้วคนเราไม่เท่ากันอยู่แล้ว, ระบบกรรมสิทธิ์, ความคิดเรื่องกรรม ฯลฯ
Blood Diamond?
IPhone Factory in China
วิวัฒนาการทางสังคมแบบคอมมิวนิสต์ จุดที่สังคมมนุษย์ยังไม่เคยไปถึง วิถีการผลิตกำกับปัจจัยการผลิต การปฏิวัติของชนชั้นกรรมชีพ สังคมทาส แรงงานเป็นปัจจัยการผลิต นายทาส-ทาส Spatacus สังคมศักดินา ที่ดินเป็นปัจจัยการผลิต เจ้าของที่ดิน-ผู้เช่าที่ดิน ฟิวดัลในยุโรป สังคมทุนนิยม ทุนเป็นปัจจัยการผลิต นายทุน-กรรมกร Modern Time สังคมนิยม รื้อถอนอุดมการณ์แบบทุนนิยม รัฐเตรียมคอมมิวนิสต์ ประโยชน์ของสังคมมาก่อนประโยชน์ของเอกชน รัฐสวัสดิการ สังคมคอมมิวนิสต์
กฎหมายกับเศรษฐกิจ ก Law and Globalization
กฎหมายกับเศรษฐกิจ ก Law and Globalization
อะไรคือGlobalization? Count down around the world! https://www.youtube.com/watch?v=M9BNoNFKCBI http://youtu.be/nYf9sqlEWJo เราดูหนัง ฟังเพลง บริโภคอะไรบ้าง? โลกาภิวัตน์ หมายความว่าอย่างไร? โลก + อภิวัฒน์ (อภิ + วัฒนา = การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่) Alvin Toffler: The Third Wave I Green Revolution II Industrial Revolution III Information Technology Revolution Law and Globalization
I Agricultural Revolution 6
I Agricultural Revolution 7
I Agricultural Revolution ก่อนหน้า ในยุคสังคมดั้งเดิม primitive society จากสังคมการล่าสัตว์ และการเร่ร่อน มาสู่ สังคม เพาะปลูก การจับจองที่ดินและตั้งถิ่นฐาน การเพาะปลูกเพื่อบริโภคในครัวเรือน สู่การแลกเปลี่ยนของที่ผลิตได้ สู่สังคมพาณิชนิยม จากการผลิตเพื่อบริโภค สู่การผลิตเพื่อขาย Comparative Advantage (หลักการผลิตโดย เปรียบเทียบ) ผลิตอย่างเดียวให้ชำนาญ สร้างศักยภาพ ในการผลิตให้สูงขึ้น แล้วไปค้าขายกับคนอื่น จำนวนประชากรน้อย ทรัพยากรมีมาก – happy ☺ แนะนำให้ดู documentary – Mankind: the Story of All of Us 8
II Industrial Revolution 9
II Industrial Revolution การปฏิวัติอุตสาหกรรม เริ่มจากการใช้เครื่องจักรไอน้ำ ทำให้การผลิตในสังคม สามารถผลิตได้เพิ่มขึ้น ระบบ การขนส่ง รถไฟ เรือกลไฟ การขุดเจาะน้ำมัน การสกัดน้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน การผลิตเหล็กกล้า สู่อุตสาหกรรมรถยนต์ การคิดค้นการผลิตกระแสไฟฟ้า และโทรศัพท์ แนะนำให้ดู The Story of Science (BBC) The Men Who Built America 10
III Information Technology Revolution ยุค 1950 เริ่มมีการคิดค้นระบบคอมพิวเตอร์ ยุคของความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ วิทยาการก้าวหน้าไปอย่างก้าวกระโดด 11
Green Revolution การปฏิวัติเขียว – การปฏิวัติในระบบการเกษตร เน้นการเพาะปลูกเชิงพาณิชย์ cash crop ปลูกอย่างเดียว เยอะๆ plantation; mono crop การ ปลูกพืชเชิงเดี่ยว 12
Green Revolution ผลที่ตามมาคือ การปลูกพืชอย่างเดียว ทำให้ดินเสื่อม โทรมเร็ว ต้องใช้ปุ๋ย การระบาดของแมลงมีมากขึ้น รุนแรงมากขึ้น จึงต้องใช้ยาฆ่าแมลงเยอะขึ้น 13
Chapter 2 Development of Environmental Law World Time Line Colonization era Chapter 2 Development of Environmental Law 14
World Time Line Colonization era US Civil War > Reconstruction 14
Chapter 2 Development of Environmental Law World Time Line Colonization era US Civil War > Reconstruction 1920s Great Depression Chapter 2 Development of Environmental Law 14
Chapter 2 Development of Environmental Law World Time Line Colonization era US Civil War > Reconstruction 1920s Great Depression 1940s WWII > UN Chapter 2 Development of Environmental Law 14
Chapter 2 Development of Environmental Law World Time Line Colonization era US Civil War > Reconstruction 1920s Great Depression 1940s WWII > UN 1950s Green Revolution Chapter 2 Development of Environmental Law 14
Chapter 2 Development of Environmental Law World Time Line Colonization era US Civil War > Deconstruction 1920s Great Depression 1940s WWII > UN 1950s Green Revolution 1960s Social Change Chapter 2 Development of Environmental Law 14
Chapter 2 Development of Environmental Law World Time Line Colonization era US Civil War > Deconstruction 1920s Great Depression 1940s WWII > UN 1950s Green Revolution 1960s Social Change 1970s International Conflicts / People Resistance Chapter 2 Development of Environmental Law 14
World Time Line Colonization era US Civil War > Deconstruction 1920s Great Depression 1940s WWII > UN 1950s Green Revolution 1960s Social Change 1970s International Conflicts / People Resistance 1980s Cold War/ Left vs. Right 14
World Time Line Colonization era US Civil War > Deconstruction 1920s Great Depression 1940s WWII > UN 1950s Green Revolution 1960s Social Change 1970s International Conflicts / People Resistance 1980s Cold War/ Left vs. Right 1990s Post Cold War 2000s War on Terror/ Free Trade Agreement 14
World Time Line Colonization era US Civil War > Deconstruction 1920s Great Depression 1940s WWII > UN 1950s Green Revolution 1960s Social Change 1970s International Conflicts / People Resistance 1980s Cold War/ Left vs. Right 1990s Post Cold War 2000s War on Terror/ Free Trade Agreement 2010s Arab Spring model & political conflict 14
จากการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมสู่กฎหมายภายใน - อเมริกา Silent Spring by Rachel Carson (September 1962) > DDT ban (1972) Cuyahoga River > Clean Water Act 1969 Santa Barbara Oil Spill 1969 by Union Oil (10 วัน รั่วถึง 100,000 barrels) > National Environmental Policy Act (NAPA) > President’s Council on Environmental Quality (CEQ) > Environmental Assessments > กำหนดบทบาทเฉพาะในฝ่ายบริหาร 15
จากการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมสู่กฎหมายภายใน - ญี่ปุ่น มินามาตะ โรคจากการสะสมของสารปรอท โดยเกิดจากการทิ้งน้ำเสียที่มีสารปรอทเจือปน อิไตอิไต โรคจากสารแคดเมียม เกิดจากการทำงานในโรงงาน การปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว Masanobu Fukuoka, The One Straw Revolution http://www.khamkoo.com/uploads/9/0/0/4/900 4485/the_one_straw_revolution.pdf โรคมินะมะตะ (ญี่ปุ่น: 水俣病 Minamata-byō ?) เป็นชื่อโรคที่เกิดจากพิษจากสารปรอท โดยมีอาการของ เด็กขาดสารอาหาร มีอาการวิกลจริตอย่างอ่อนๆ กรีดร้อง นัยน์ตาดำขยายกว้างเล็กน้อย ลิ้นแห้ง แต่ไม่พบสาเหตุของการผิดปกติ แขนขาเคลื่อนไหวลำบาก มีการกระตุกตัวแข็ง แขนขาบิดงออย่าง รุนแรง เพราะโรคนี้แสดงผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง โรคนี้ค้นพบครั้งแรกที่เมืองมินามาตะ ประเทศ ญี่ปุ่น เมื่อ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 โดยเกิดจากการทิ้งน้ำเสียที่มีสารปรอทเจือปนออกมา กว่าที่โรคนี้จะ เป็นที่ยอมรับทั้งสาเหตุและโรคนี้ ก็มีการต่อสู้ทางศาลระหว่างกลุ่มธุรกิจกับผู้ป่วยมาเป็นเวลานาน ประวัติ[แก้] บริษัทชิสโสะเปิดโรงงานเคมีในมินะมะตะเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1908 ในระยะแรกเป็นโรงงานผลิตปุ๋ย ต่อมาจึงขยายกิจการตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีของประเทศญี่ปุ่นโดยเริ่มผลิตอะเซทิลีน อะซีทัลดี ไฮด์ กรดอะซีติก ไวนิลคลอไรด์ ออคทานอล และสารเคมีอื่นๆ ต่อมาจึงพัฒนาจนเป็นโรงงานที่มี ความก้าวหน้ามากที่สุด ทั้งก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ของเสียจากโรงงานถูกปล่อยลงอ่าวมินะ มะตะผ่านระบบกำจัดน้ำเสียของโรงงาน มลภาวะเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การประมงได้รับผลกระทบทำให้จับปลาได้น้อยลง บริษัทฯ จึงได้เสนอข้อตกลงเพื่อการชดเชยกับ สมาคมชาวประมงในปี 1926 และ 1943[1] การขยายตัวอย่างรวดเร็วของโรงงานเริ่มแผ่ขยายไปยังเศรษฐกิจท้องถิ่นทำให้ทั้งบริษัทฯ และเมืองมินะ มะตะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว เมื่อประกอบกับการที่ไม่มีอุตสาหกรรมอื่นๆ ในท้องถิ่น ทำให้บริษัทฯ มีอิทธิพลในมินะมะตะอย่างมาก ถึงขั้นที่มีช่วงหนึ่งซึ่งครึ่งหนึ่งของภาษีที่เก็บได้ในเขตเมืองมินะมะตะมา จากบริษัทชิสโสะและพนักงาน[2] บริษัทฯ และหน่วยงานย่อยเป็นหน่วยงานที่ทำให้เกิดการจ้างงานถึง หนึ่งในสี่ของพื้นที่ ถึงกับมีการกล่าวว่าบริษัทฯ เป็นวังของพื้นที่ เหมือนอย่างวังขุนนางในยุคเอโดะ[3] โรงงานเริ่มผลิตอะเซทัลดีไฮด์ในปี 1932 โดยในปีนั้นมีผลผลิต 210 ตัน เมื่อถึงปี 1951 ผลผลิตเพิ่มขึ้น เป็น 6,000 ตันต่อปี และสูงสุดที่ 45,245 ตันในปี 1960[4] รวมทั้งหมดแล้วโรงงานของชิสโสะมี ผลผลิตอะเซทัลดีไฮด์อยู่ระหว่างหนึ่งในสี่ถึงหนึ่งในสามของผลผลิตทั้งประเทศญี่ปุ่น ปฏิกิริยาที่ใช้ใน การผลิตอะเซทัลดีไฮด์นั้นมีการใช้เมอร์คิวรีซัลเฟตเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาข้างเคียงของกระบวนการ เร่งปฏิกิริยานั้นได้ผลผลิตเป็นสารปรอทชีวภาพจำนวนเล็กน้อย ชื่อว่าเมธิลเมอร์คิวรี[5] เป็นสารที่มีพิษ อย่างมาก และถูกปล่อยลงอ่าวมินะมะตะตั้งแต่เริ่มผลิตในปี 1932 ถึง 1968 เมื่อวิธีผลิตนี้ถูกยกเลิก โรคอิไตอิไต (ญี่ปุ่น: イタイイタイ病 itaiitaibyō อิไตอิไตเบียว ? ; อังกฤษ: Itai-itai disease) เป็นโรคชนิด หนึ่งเกิดจากแคดเมียม ชื่อโรคอิไตอิไต มาจากภาษาญี่ปุ่น แปลว่า เจ็บปวด โรคอิไตอิไต พบครั้ง แรกในประเทศญี่ปุ่น เช่นเดียวกับโรคมินามาตะ และโรคคาวาซากิ เนื่องจากผู้ที่ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดจึง เรียกขานว่าโรคอิไตอิไต ผู้ที่มีโอกาสจะได้รับพิษแคดเมียม คือ คนงานในอุตสาหกรรมชุบหรือเชื่อมโลหะ คนงานเคาะพ่นสี รถยนต์และมอเตอร์ไซด์ ที่มีการใช้ความร้อน หรือเปลวไฟในการเชื่อมเหล็กที่มีแคดเมียมผสมหรือเคลือบ อยู่ การสูดไอของโลหะแคดเมียมเข้าไประยะยาว แคดเมียมจะไปสะสมที่กระดูก ทำให้กระดูก ผุมี อาการเจ็บปวดมาก เคยมีชื่อเรียกโรคพิษของแคดเมียมเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า อิไตอิไต ซึ่งแปลว่า เจ็บปวด เมื่อได้รับแคดเมียมสะสมมาก ๆ จะสังเกต เห็นวงสีเหลืองที่โคนของซี่ฟัน ซึ่งจะขยายขึ้นไป เรื่อย ๆจนอาจเต็มซี่ ถ้าขนาดของวงยิ่งกว้างและสียิ่งเข้ม ก็แสดงว่ามีแคดเมียมสะสมมาก มีหลักฐาน พิสูจน์ ได้ว่าแคดเมียมออกไซด์เป็นสารก่อมะเร็งที่ไตและต่อมลูกหมาก นอกจากนั้นยังทำอันตรายต่อไต ทำให้สูญเสียประสาทการดมกลิ่นและทำให้ เลือดจาง ถ้าได้รับปริมาณมากระยะสั้น ๆ จะมีอาการจับ ไข้ หนาว ๆ ร้อน ๆ ปวดศีรษะ อาเจียน อาการนี้จะเป็นได้นานถึง 20 ชั่วโมงแล้วตามด้วยอาการ เจ็บหน้า อก ไอรุนแรง น้ำลายฟูม ดังนั้น เมื่อใดมีไอของแคดเมียม เช่น จากการเชื่อมเหล็กชุบ ควรใช้หน้ากากป้องกันไอและฝุ่นของแคดเมียม หรือสารประกอบแคดเมียม ในขณะทำงาน 16
ก ก Law and Globalization
อะไรคือGlobalization? ในปัจจุบันใช้ตัวสะกด โลกาภิวัตน์ การแผ่ถึงกันทั่วโลก การเข้าถึงโลก Globalization, localization, de-globalization! The 100 Miles Diet ระบบความสัมพันธ์ของคนในโลก (ข้ามพรมแดน) ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม การติดต่อเชื่อมกัน นำมาซึ่งสิ่งที่ไม่ดี และดี เช่น โรคระบาด ยาเสพติด มาเฟียข้ามชาติ การค้า การเงินการลงทุน ทรัพยากร คุณค่าทางจริยธรรม Law and Globalization
กรณีเขื่อนแม่น้ำโขง http://www.aseangreenhub.in.th/envinat-ac/th/natural-resourcesection/110-natural-resource-2 Law and Globalization
ปัญหาหมอกควัน http://infofile.pcd.go.th/air/Smoke_North.pdf?CFID=936908&CFTOKEN=40680568 Law and Globalization
ปัญหาหมอกควันจากที่ต่างๆ ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในเมืองไทยเท่านั้น! Law and Globalization
การแก้ปัญหาหมอกควัน การแก้ปัญหาแบบบ้านๆ Law and Globalization
การแก้ปัญหาหมอกควัน การแก้ปัญหาแบบปัจเจก Law and Globalization
ปัญหาโลกร้อน http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76823 Law and Globalization
น้ำทะเลร้อนขึ้น d Law and Globalization
น้ำทะเลร้อนขึ้น Law and Globalization
น้ำทะเลร้อนขึ้น Law and Globalization
ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น http://www.greenpeace.org/seasia/th/campaigns/climate-and-energy/impacts/ocean-circulation/ Law and Globalization
ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น http://www.greenpeace.org/seasia/th/campaigns/climate-and-energy/impacts/sea-level-rise/ Law and Globalization
AEC 2015 ASEAN เป็นใคร? มีขึ้นเพื่ออะไร? ผลกระทบเป็นอย่างไร? การรวมตัวของ AEAN จะมีผลบังคับได้อย่างที่คาดหวังไว้หรือไม่ ? อะไรคือปัญหาและอุปสรรคของ AEAN & AEC ? Law and Globalization
ข้อพิพาทเกี่ยวกับเขาพระวิหาร ข้อพิพาทเกี่ยวกับเขาพระวิหาร ? เหตุการณ์และการขึ้นศาลโลก ทำไมไทยจึงต้องยอมในตอนแรกที่ฝรั่งเศสทำแผนที่? ผลบังคับของคำตัดสินของศาลโลกเป็นอย่างไร? หากตอนนี้ไทยจะไม่ยอมเชื่อคำตัดสินของศาลโลก จะทำได้หรือ? ทำไมเหตุการณ์ความรุนแรงที่ราชประสงค์ในปี 2553 จึงมีคนนำเรื่องไปฟ้องที่ศาลอาญาโลก? ศาลอาญาโลกจะรับเรื่องคำฟ้องนี้หรือไม่? Law and Globalization
ปัญหาข้อพิพาทในทะเลจีนใต้ เกิดความขัดแย้งอะไรขึ้นที่ทะเลจีนใต้ ? สาเหตุของความขัดแย้งคืออะไร ? ผลกระทบจากความขัดแย้งนี้เป็น/จะเป็นอย่างไร? จะเข้ามาจัดการกับความขัดแย้งนี้ได้อย่างไร? ปัญหาในเรื่องการจัดการทรัพยากร เช่น ทะเล-มหาสมุทร เมื่อน้ำทะเลร้อนขึ้น 1-2 องศา จะทำอย่างไร? เมื่อจีนสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขง แล้วลาว ไทย เวียตนาม กัมพูชา จะทำอย่างไร? Law and Globalization
สังคมโลกกำหนดกลไกขึ้นมาเป็นเครื่องมือกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกัน ทำไม? จากคำถามทั้งสามเรื่องข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวของสังคมสมัยใหม่ (สังคมโลก) ในการสร้างเครื่องมือในการจัดระบบความสัมพันธ์ของคนในสังคม รวมไปถึงการจัดการสังคม และทรัพยากรในโลกสมัยใหม่ สังคมโลกกำหนดกลไกขึ้นมาเป็นเครื่องมือกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกัน ทำไม? กลไกทางกฎหมายที่เป็นเครื่องมือนี้มีความเข้มแข็งแตกต่างกัน Law and Globalization
Globalization and the Law II 1 รูปแบบและวิธีการของการอภิวัฒน์ โลกและกฎหมาย 2 ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์ Law and Globalization
การอภิวัฒน์ของโลก การขยายอิทธิพลและกิจกรรมเข้าพรมแดนโดยอาศัย อิทธิพลทางกายภาพ อิทธิพลทางโครงสร้าง อิทธิพลทางวัฒนธรรม Law and Globalization
การขยายอิทธิพลและกิจกรรมโดยกลุ่มคน คนส่วนน้อยครองงำคนส่วนมาก แบบจักรวรรดิ Empire ดินแดนที่พระอาทิตย์ไม่เคยตกดิน – British Empire 1897 Law and Globalization
การขยายอิทธิพลและกิจกรรมโดยกลุ่มคน คนส่วนใหญ่ปฏิวัติจากเบื้องล่าง แบบมติมหาชนMultitude Law and Globalization
ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ ผลทางการเมือง รัฐชาติ องค์เหนือรัฐ ประชาสังคมข้ามชาติ ผลทางเศรษฐกิจ การค้า/สินค้า การลงทุนข้ามชาติ ทรัพย์สินทางปัญญา กิจกรรมของบรรษัทข้ามชาติ Law and Globalization
ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ ผลทางสังคม พรมแดน สัญชาติ สิทธิ-หน้าที่ของคนข้ามรัฐ สังคมของคนข้ามรัฐและพหุสังคม ผลทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมเชิงเดี่ยวครอบงำโลก วัฒนธรรมป๊อบ วัฒนธรรมบริโภค ไร้ราก ไร้วัฒนธรรมของตนเองที่เป็นอัตลักษณ์ Law and Globalization
ความเปลี่ยนแปลงของ โลกาภิวัตน์ที่กระทบต่อกฎหมาย การล่าอาณานิคม เพื่อใช้ทรัพยากรของคนอื่น การกระจายตัวของประเทศเจ้าอาณานิคมแบบจักรวรรดินิยม การปฏิวัติอุตสาหกรรม การสะสมทุนจนโตแล้วไปแตกที่อื่น สงครามมหาอำนาจโลกตะวันตก รัฐชาติ ชาตินิยม ชาติพันธุ์นิยม การกำเนิดสหประชาชาติ การปลดปล่อยอาณานิคมทางเศรษฐกิจ การเมือง สงครามเย็น ระหว่างอุดมการเศรษฐกิจการเมืองสองขั้ว ชัยชนะของวัฒนธรรมเสรีนิยมสมัยใหม่ โลกาภิวัตน์ การปฏิวัติคลื่นลูกที่ 3 Law and Globalization
อุดมการณ์โลกาภิวัตน์ กับการต่อสู้ทางเศรษฐกิจการเมือง 1 อุดมการณ์วัฒนธรรมสังคมนิยม ความเสมอภาคของปัจเจกชน ความเป็นธรรมของสังคม ยึดสังคมเป็นหลัก 2 อุดมการณ์วัฒนธรรมทุนนิยมเสรี เสรีภาพของปัจเจกชน ความมั่งคั่ง ปัจเจกชนนิยม Law and Globalization
กฎหมายต่างๆที่สะท้อน กระแสโลกาภิวัตน์ กฎหมายระหว่างประเทศ จัดแบ่งตามความสัมพันธ์ออกเป็น 2 ประเภท คือ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดี บุคคล และกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คือ กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน ที่มีมิติระหว่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง คือกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ องค์การระหว่างประเทศและรัฐ-เอกชน การแบ่งประเภทของกฎหมายระหว่างประเทศอีกแบบซึ่งอยู่บนพื้นฐานของเนื้อหาสาระของกฎหมาย ได้แก่ กฎหมายสิทธิมนุษยชน กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ Law and Globalization
กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล (1) กฎหมายสัญชาติ ความเชื่อมโยงระหว่างรัฐกับคนชาติของรัฐนั้นๆ หลักดินแดน และหลักสายโลหิต การมีสิทธิพลเมืองเชื่อมโยงไปสู่การมีอำนาจในการจัดการในรัฐนั้น เช่น ผู้มีสัญชาติของรัฐนั้นๆ มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้มีสัญชาตินั้นมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง การดำรงตำแหน่งระดับสูงเช่น ประมุขของรัฐ หรือประมุขของฝ่ายบริหาร คณะรัฐมนตรี ต้องมีสัญชาติโดยการเกิด กำหนดห้ามพรรคการเมืองรับบริจาคจากคนต่างด้าว Law and Globalization
กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล (2) กฎหมายขัดกัน เมื่อคนของรัฐหนึ่งไปเกี่ยวข้องกับ คนของรัฐอื่นหรือเข้าไปในดินแดนของรัฐอื่น แล้วไปมีเหตุการที่ต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมาย กฎหมาย “ขัดกัน” เพราะต้องตัดสินว่าต้องใช้กฎหมายของรัฐใดมาปรับใช้กับกรณีที่เกิดขึ้น ใช้จุดเกาะเกี่ยวของกฎหมายที่ใกล้ชิดที่สุดกับกรณี Law and Globalization
กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมือง (1) โลกาภิวัตน์ ทำให้รัฐต่างๆเข้ามีการติดต่อระหว่างกันมากขึ้น รัฐต่างมีอำนาจอิสระ (อำนาจอธิปไตย) ดังนั้นกฎหมายที่จะนำมาใช้บังคับรัฐต่างๆได้จึงต้องอาศัยการยอมรับจากรัฐนั้นๆ สัญญาว่าจะปฏิบัติตามข้อตกลง “Pacta Sunt Servanda” = agreement must be kept มีระดับต่างๆของกฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญา(treaty) อนุสัญญา(Convention) พิธีสาร(Protocol) กติกา(Covenant) ข้อตกลง(Agreement) บันทึกข้อตกลง(Memorandum of Agreement) ต้องดูว่ามีผลผูกพันตามข้อบังคับอย่างไร Law and Globalization
กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมือง (2) นอกจากนี้ยังมี กฎเกณฑ์ที่กลายมาเป็นจารีตประเพณีระหว่างประเทศ มีการยกระดับของความเป็นกฎหมายที่รัฐต่างๆยอมรับว่ามีสถานะเป็น “กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ” customary international law(แผนกคดีเมือง) เช่น war crime, crimes against humanity ที่แม้ไม่ได้ลงนาม ก็ต้องปฏิบัติตาม เหตุใดจึงต้องมีกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง? องค์กรใดจะเข้ามาเป็นผู้บังคับใช้กฎหมายนี้ได้? ใครจะอาจหาญเข้ามาทำหน้าที่เป็นตำรวจโลก? การพัฒนาของกฎหมายระหว่างประเทศ และองค์กรโลกบาลหลังสงครามโลก องค์กรสหประชาชาติ Law and Globalization
Globalization and the Law III 1 Actors บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ State and non-state actors 2 ภาวะของโลกาภิวัตน์ในโลกปัจจุบัน Law and Globalization
Actors in International Law บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ – รัฐ ความเคลื่อนไหวข้ามพรมแดน(มองในมิติของผู้กระทำ) ทั้งรัฐกับรัฐ เอกชนกับเอกชน เอกชนกับรัฐ ในมิติทั้ง 4 ด้าน เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เหตุผลที่บุคคลต่างๆใช้กฎหมายระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือ - เมื่อเครื่องมือที่มีกฎหมายภายในไม่ได้ผล Law and Globalization
องค์กรระหว่างประเทศ การเกิดขึ้นขององค์กรระหว่างประเทศต่างๆ มักอยู่บนพื้นฐานของข้อตกลงระหว่างรัฐ พหุภาคี หรือทวิภาคี United Nations GATT (General Agreement on Tariffs and Trade) WTO (World Trade Organization) IMF, World Bank, ADB ASEAN FTA Law and Globalization
สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น (United Nations - UN) ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นองค์การระหว่างประเทศที่กำเนิดขึ้นเป็นองค์การที่สองต่อจากสันนิบาตชาติ (The League of Nations) มีสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงอยู่ 5 ประเทศ อันประกอบด้วย สาธารณรัฐประชาชนจีน (แทนที่สาธารณรัฐจีน) ฝรั่งเศส รัสเซีย (แทนที่สหภาพโซเวียต) สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา Law and Globalization
สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น (United Nations - UN) มีการแบ่งเป็น 6 องค์กรหลัก สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ สำนักงานเลขาธิการแห่งสหประชาชาติ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีองค์กรอื่น ๆ อีกเช่น WHO UNESCO UNICEF UNEP UNDP UNHCR ILO Law and Globalization
การรวมตัวกันขององค์กระหว่างประเทศ เพื่อรักษาความสงบสุขของโลก เพื่อสร้างหลักประกันสิทธิและเสรีภาพ สิทธิพลเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สร้างกติกาที่เป็นธรรมในการแข่งขันทางการค้า รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโลก Law and Globalization
Non-State Actors ความเคลื่อนไหวของ non-state actors เช่น องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม Green Peace, Human Rights Watch, Red Cross, OXFEM ปัญหาของการยอมรับในทางกฎหมาย – มีอำนาจฟ้องคดีสู่องค์กรระหว่างประเทศหรือไม่? ประเด็นหลักอยู่ที่เป็นผู้เสียหายโดยตรงหรือไม่ Law and Globalization
Non-State Actors ความเคลื่อนไหวของ non-state actors เช่น องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม Green Peace, Human Rights Watch, Red Cross, OXFEM ปัญหาของการยอมรับในทางกฎหมาย – มีอำนาจฟ้องคดีสู่องค์กรระหว่างประเทศหรือไม่? ประเด็นหลักอยู่ที่เป็นผู้เสียหายโดยตรงหรือไม่ Law and Globalization
กลไกในการบังคับใช้กติการะหว่างประเทศ การเข้าร่วมเป็นภาคี การให้สัตยาบันในข้อตกลงระหว่างประเทศ การนำมาบังคับใช้ภายในรัฐ การทำรายงานและการติดตามผลการปฏิบัติตามข้อตกลงระหว่างประเทศ การจัดการกับข้อพิพาท จบ ☃ Law and Globalization
Law and Globalization
ก ก Law and Globalization