ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CAI CAI WBI WBI.
Advertisements

Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
การแปลงขนาดไฟล์รูปภาพ เทคนิคสำคัญ!!!
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
หน่วยการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์
Inside a digital image How colour is defined for images
บทที่ 4 ภาพนิ่ง (Still Image)
….E-Book สนุกสนาน…..
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การทำภาพ animation โดยใช้
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
การกำหนดขนาดของรูปภาพ การใช้รูปภาพเป็น Background
21. การกำหนดขอบเขตของภาพ (1 จาก 5)
เทคนิคการใช้งาน Adobe Photoshop นรินทร บุญพราหมณ์
Image Technology Department of Computer Education KMITNB.
Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
Selection แผนที่ 2 หน่วยที่ 4.
การตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์
Print & Electronic Media Production forAd. Pr. IMC
แบบทดสอบ Photoshop.
บทที่ 2 ประเภทของงานกราฟิกส์
วิธีการสร้างตัวอักษรไฟ
Principle of Graphic Design
Pretest.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
Orthographic Projection week 4
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
MULTIMEDIA REPRESENTATION IMAGE / VIDEO / AUDIO รศ. ดร. อรฉัตร จิตต์โสภักตร์ ECC-915.
วิชาโปรแกรมกราฟิก. หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก หน่วยที่ 2 ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ หน่วยที่ 3 การใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop.
Image Acquisition and Digitization
ความรู้พื้นฐานโปรแกรม Adobe Photoshop
บทที่ 6 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
GIMP : Graphics Design for Web
Animation update.
Macromedia Flash 8 สุรีย์ นามบุตร.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
อาจารย์เนารุ่ง วิชาราช แนะนำวิชา จุดมุ่งหมาย
Digital กับการประยุกต์
บทที่ 5 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด.
บทที่ 6 : ภาพเวกเตอร์ สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
สื่อดิจิทัล (Digital Media)
Web Design.
ยินดีต้อนรับ.
การออกแบบและพัฒนาเว็บ (WEB DESIGN AND DEVELOPMENT)
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
บทที่ 6 : ภาพเวกเตอร์ สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
ระบบภูมิสารสนเทศสำหรับงานติดตาม ตรวจสอบด้านทรัพยากรป่าไม้
Integrated Information Technology
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
สร้างปกหนังสือด้วย Photo shop.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
คลิก Start เพื่อเข้าสู่เกม
โครงงานนิทานภาพเคลื่อนไหว ด้วยโปรแกรม Paint และ PowerPoint
บทที่ 6 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
บรรยายครั้งที่ 6 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 5 การผลิตสื่อภาพนิ่งเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล
Digital image Processing By Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee
ภาพนิ่ง (Still Image).
หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage).
Color Standards A pixel color is represented as a point in 3-D space. Axis may be labeled as independent colors such as R, G, B or may use other independent.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์ ภาพที่ถูกนำมาใช้งานบนระบบคอมพิวเตอร์เกิดจาก ? การรวมกันของจุดสีที่เรียกว่า พิกเซล ซึ่งอยู่ในรูปแบบดิจิตอล คุณภาพของการแสดงภาพขึ้นอยู่กับ ความละเอียดของภาพ และประสิทธิภาพของฮาร์ดแวร์ เช่น จอภาพ การ์ดจอ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น โดยทั่วไปภาพกราฟิกที่นำมาใช้งานแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.ภาพ 2 มิติ (2D Image) 2.ภาพ 3 มิติ (3D Image)

ภาพ 2 มิติ(2D Graphic) กราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์ ที่สร้างและนำมาใช้งานกับคอมพิวเตอร์แบ่งได้ 2 ประเภท

ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การแสดงภาพกราฟิก ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพบนคอมพิวเตอร์ หรือกราฟิกคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ ภาพแบบบิตแมป (bitmap) และภาพแบบเวกเตอร์ (vector) ความเข้าใจความแตกต่างของกราฟิก ทั้งสองประเภทจะช่วยให้สามารถเลือกใช้งานได้อย่างยืดหยุ่น มีประสิทธิภาพ และตรงตาม จุดประสงค์สูงสุดในการใช้งาน Bitmap & vector

กราฟิกแบบ Bitmap เราจะเรียกว่าbitmap หรือraster ดี          Bitmap ในทางเทคนิคเรียกว่า “Raster Image” เป็นการแสดงผลภาพทางกราฟิกในรูปแบบที่ประกอบขึ้นจากกรอบสี่เหลี่ยมจุดเล็กๆ มีลักษณะเป็นตะแกรงเรียงประกอบขึ้นเป็นภาพ ลักษณะคล้ายๆ กับการปูกระเบื้อง เรียกว่า พิกเซล (Pixels) ที่มีจำนวนคงที่ตายตัวตามการสร้างภาพที่มี Resolution (ตัวกำหนดค่าความละเอียดของจำนวนpixels) แต่ละพิกเซลก็จะมีค่าของตำแหน่งและค่าสีของตัวเอง ด้วยเหตุที่พิกเซลมีขนาดเล็กเราจึงเห็นว่าภาพ มีความละเอียดสวยงาม                

ข้อดี ภาพแบบ Bitmap จึงเหมาะสำหรับงานกราฟิกในแบบที่ต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด เป็นไฟล์ที่เหมาะกับการทำงานกับภาพเหมือนจริงประเภทภาพถ่าย เพราะ Bitmap มี Channel พิเศษ เรียกว่า Alpha Channel ซึ่งเป็น 32 bit หรือ true color คือสีสมจริง เช่น ภาพที่นำมาใช้กับ PhotoShop จะเป็นภาพเหมือน ภาพถ่าย เพราะไฟล์ที่ได้จาก PhotoShop เป็น Bitmap ไฟล์ภาพแบบ Bitmap ในระบบวินโดวส์คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล .BMP, .PCX. , .TIF, .GIF, .JPG, .MSP, .PCD เป็นต้น สำหรับโปรแกรมที่ใช้สร้างกราฟิกแบบนี้คือ โปรแกรม Paint ต่างๆ เช่น Paintbrush, PhotoShop, Photo scape เป็นต้น

Bitmap

ข้อด้อย   เนื่องจาก Bitmap มีค่า Pixel จำนวนคงที่จึงทำให้มีข้อจำกัดในเรื่องการขยายขนาดภาพ การเปลี่ยนขนาดภาพทำโดยเพิ่มหรือลด Pixel จากที่มีอยู่เดิม เมื่อขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ความละเอียดของภาพจึงลดลง และถ้าเพิ่มค่าความละเอียดมากขึ้นก็จะทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่และเปลืองเนื้อที่หน่วยความจำมากขึ้นตามไปด้วย ภาพที่ขยายโตขึ้นจะมองเห็นเป็นตารางสี่เหลี่ยมเรียงต่อกัน ทำให้ขาดความสวยงาม

การขยายขนาดของภาพ bitmap เกินขนาดจริงหรือทำการลดจำนวน pixel ก็ทำให้ รายละเอียดของภาพลดลงได้

กราฟิกแบบ Vector คือ รูปแบบภาพกราฟิกที่ประกอบด้วย เส้นสาย ลวดลายต่าง ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นจากสมการ ทางคณิตศาสตร์ในการคำนวณ จุดตัดและต่อกันของแกน x/y/z ผ่านโปรแกรมทางกราฟิก ทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ง่าย เช่น การย้ายภาพจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง โดยโปรแกรมจะ คำนวณจุดตำแหน่งใหม่และแสดงผลให้โดยอัตโนมัติ ไฟล์ภาพแบบนี้จะเหมือนการ์ตูนหรือภาพเขียน ประเภทผลงานกราฟิกที่นิยมใช้โปรแกรมที่สร้างภาพแบบ vector ในการสร้างได้แก่ การออกแบตัวอักษร , งานออกแบบโลโก้ , โปสเตอร์ขนาดใหญ่

ข้อดี ลักษณะเด่นของ Vector คือ สามารถยืดหรือหดภาพเท่าใดก็ได้ โดยที่ภาพจะไม่แตก ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง คงคุณภาพของภาพไว้ได้เหมือนเดิม และยังสามารถขยายเฉพาะความกว้างหรือความสูง เพื่อให้มองเห็นเป็นภาพผอมหรืออ้วนกว่าภาพเดิมได้ด้วย และไฟล์มีขนาดเล็กกว่าภาพ Bitmap ภาพแบบ Vector จึงเหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration     ไฟล์รูปภาพแบบ Vector ในระบบวินโดวส์คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล .EPD, .WMF, .CDR, .AI, .CGM, .DRW, .PLT เป็นต้น โดยมีโปรแกรมประเภทวาดรูป (Drawing Program) เช่น CorelDraw หรือ AutoCAD เป็นโปรแกรมสร้าง ขณะที่บนแมคอินทอชใช้ Illustrator และ Freehand

ข้อด้อย 1.การแสดงผลของภาพอาจไม่ละเอียดไม่เป็นธรรมชาติเท่า bitmap 2. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า

Vector

Bitmap Vector 1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย 1. ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ โดยรวมเอา Object (เช่น วงกลม เส้นตรง) ต่างชนิดมาผสมกัน 2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่ 2. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง 3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด 3. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration 4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ 4. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า

ภาพ 3 มิติ (3D Image) เป็นภาพประเภทหนึ่งของภาพเวกเตอร์ ซึ่งมีลักษณะมุมมองของภาพที่เหมือนจริง อยู่ในรูปทรง 3 มิติ (3D) มีพื้นฐานการสร้างมาจากภาพ 2 มิติ (มีเพียงแกน X และ Y ) โดยเพิ่มความลึกให้กับภาพที่สร้าง (เพิ่มแกน Z) ภาพ 3 มิติ ภาพ 2 มิติ

สีในงานกราฟิกและการสื่อความหมาย ในอารมณ์ต่างๆ สีเกิดจากอะไร ในปัจจุบันแหล่งกำเนิดสีจะมีอยู่ 3 ชนิดคือ สีที่เกิดจากแสง เกิดจาการหักเหของแสงผ่านแท่งแก้วปริซึ่ม ซึ่งจะประกอบไปด้วย 3 สีคือ แดง เขียว น้ำเงิน เรียกรวมว่า rgb นำมา ผสมกันจนเกิดเป็นสีต่างๆ ตัวอย่างอุปกรณ์ที่แหล่งกำเนิดสีจากแสงแบบนี้เช่น โทรทัศน์ และ มอนิเตอร์คอม

สีที่เกิดจากหมึกสีในกาพิมพ์ เกิดจากการผสมหมึกพิมพ์ทั้ง 4 สี ในเครื่องพิมพ์ คือ ฟ้า สีม่วงแดง เหลือง และดำ เรียกว่า cmyk จนได้ออกเป็นสีตามที่ต้องการ โหมดสีแบบนี้ตัวชิ้นงานจะมีผลลัพธ์ที่ตรงกับ จอคอมพิวเตอร์ของเรา

สีที่เกิดจากธรรมชาติสีที่เลียนแบบจากธรรมชาติเกิดจากกระบวนการ สังเคราะห์ทางเคมี มี 3สี ด้วยกันคือ สีแดง สีเหลือง และน้ำเงิน (แม่สี) มาผสมกันออกเป็นสีสันแบบต่างๆ

หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปมี 4 ระบบ คือ 1. RGB 2. CMYK 3. HSB 4. LAB

RGB เป็นระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง, สีเขียวและสีน้ำเงิน เมื่อนำมาผสมกันทำให้เกิดสีต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรามองเห็นปกติ สีที่ได้จากการผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี โดยถ้าสีมีความเข้มมากเมื่อนำมาผสมกันจะทำให้เกิดเป็นสีขาว จึงเรียกระบบสีนี้ว่าแบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก

CMYK เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผิวเรียบอื่นๆ ซึ่งประกอบด้วยสีหลัก 4 สีคือ สีฟ้า,สีม่วงแดง,สีเหลือง,และสีดำ เมื่อนำมาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดำแต่จะไม่ดำสนิทเนื่องจากหมึกพิมพ์มีความไม่บริสุทธิ์ จึงเป็นการผสมสีแบบลด หลักการเกิดสีของระบบนี้ คือ หมึกสีหนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งและสะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่าง ๆ

เป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ HSB เป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ Hue คือสีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสู่สายตาของเรา Saturation คือความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 แต่ถ้ากำหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก Brightness คือระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 กลับสู่หน้าหลัก

LAB เป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใดๆ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ

ในการสร้างสรรค์ ภาพวาดระบายสี และงานกราฟิก เพื่อให้เข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเลือกใช้สีกับ ภาพวาดระบายสี และงานกราฟิก จึงมีความสำคัญ อย่างยิ่งที่ กราฟิกดีไซน์ ควรจะเลือกใช้สี ให้ถูกต้องเหมาะสม กับการนำเสนอ ในงานกราฟิก โดยทั่วไปจะแยก โทนสีออกเป็น สีโทนเย็น ซึ่งจะสื่อถึงความ สุภาพ มั่นคง เยือกเย็น  และสีโทนร้อน ซึ่งจะสื่อถึงความ ร้อนแรง สนุก ดูอบอุ่น สีร้อน สีเย็น

และสีโทนร้อน

สีโทนเย็น

จิตวิทยาของสี สีนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการทำงานกราฟิกต่างๆ การเลือกสีให้เข้ากับเนื้อหาของงาน จะทำให้งานที่ทำออกมามีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น และยังส่งผลอย่างมากกับความสวยงามของงานที่ออกมาด้วย

สีกับความรับรู้ทางอารมณ์ สีฟ้า     ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่งขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เป็นระเบียบถ่อมตน สามารถลดความตื่นเต้น และช่วยทำให้มีสมาธิ แต่ถ้ามีสีน้ำเงินเข้มเกินไป ก็จะทำให้รู้สึกซึมเศร้าได้   สีเขียว     เป็นสีในวรรณะเย็น จะสร้างความรู้สึกเย็นสบาย ใช้เป็นสีที่ช่วยผ่อนคลาย ความเครียดได้ ให้ความรู้สึก สงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น การพักผ่อน การผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยือกเย็น

สีเหลือง เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ สีเหลือง     เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ ให้ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความร่าเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม่ ความสด ใหม่ ความสุกสว่าง การแผ่กระจาย อำนาจบารมี  ให้ลองสังเกตดูว่า วันที่ท้องฟ้ามืดครึ้มปราศจากแสงแดด เราจะรู้สึกหงอยเหงา หดหู่ แต่พอมีแสงแดด ท้องฟ้าสว่าง มีสีเหลือง เราจะรู้สึกมีชีวิตชีวาขึ้น สีแดง     เป็นสีที่สร้างความตื่นเต้น และกระตุ้นสมอง สีแดงปานกลางแสดงถึง ความมีสุขภาพดี ความมีชีวิต ความรัก ความสำคัญ ความอุดมสมบูรณ์ ความมั่งคั่ง  สีแดงจัดมีความหมายแฝงด้านกามารมณ์ นอกจากนี้สีแดงยังสร้างความรู้สึกรุนแรง ให้ความรู้สึกร้อน กระตุ้น ท้าทาย เคลื่อนไหว ตื่นเต้น เร้าใจ มีพลัง มันจะใช้กันกรณี ที่เกี่ยวกับความตื่นเต้น หรืออันตราย

สีม่วง     ให้ความรู้สึก มีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น มีอำนาจ มีพลังแฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ เป็นสีที่ปลอบโยน และช่วยลด ความเครียด แต่เดิมสีม่วงได้มาจากสัตว์มีกระดอง,เปลือก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีชื่อว่า Purpura จึงได้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Purple สีส้ม     ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุ่น ความคึกคะนอง การปลดปล่อย ความเปรี้ยว การระวัง เป็นสีที่เร้าความรู้สึก ปรกติควรใช้แต่น้อยเมื่อ เทียบกับสีอื่น สังเกตว่าคนที่อยู่ในห้องสีส้มจะอยู่ได้ไม่นาน

สีเทา ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา สีน้ำตาล     ให้ความรู้สึกอบอุ่น ได้พักผ่อน แต่ควรใช้ร่วมกับสีส้ม เหลือง หรือสีทอง เพราะถ้าใช้สีน้ำตาลเพียงสีเดียว อาจทำให้เกิดความรู้สึกหดหู่ได้ สีเทา     ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถ่อมตน สีนี้มีข้อดีคือทำให้เย็น แต่สร้างความรู้สึก หม่นหมองได้ ควรใช้ร่วมกับสีที่มีชีวิต โทนสว่างอย่างน้อยหนึ่งสี

สีขาว       ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง อ่อนโยน เปิดเผย การเกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม  ให้ความรู้สึก รื่นเริง โดยเฉพาะเมื่อใช้กับสีแดง เหลือง และส้ม

เทคนิคการนำสีไปใช้งาน มีอยู่หลายรูปแบบ แต่หลายวิธีจะชี้ไปที่วัตถุประสงค์เดียวหลักๆ คือ ใช้สีเพื่อเพิ่มความโดดเด่นในภาพ และสร้างให้เกิดอารมณ์ความรู้สึก ตามที่ต้องการ ***เทคนิคการเลือกใช้สีมีสูตรสำเร็จในการเลือกใช้คือ การโยง ความสัมพันธ์จากวงล้อสี ก่อนทำงานทุกครั้ง แล้วเลือกสีหลักๆ ที่ต้องการไว้ใช้ทำงาน (เราต้องดูว่าสีไหนรวมกับสีไหนสวย)

เทคนิคการใช้สีที่นิยมใช้ Mono สีเอกรงค์ เป็นการใช้สีในแบบโทนใกล้เคียงกัน เช่นจุดเด่น เป็นสีแดง ดังนั้นสีส่วนที่เหลืออาจเป็น ส้ม เหลือง หรือน้ำตาล โดยลดทอนหรือเพิ่มความเข้มเข้าไปเพื่อสร้างมิติ

สี complement หรือ การใช้สีตัดกันหรือสีตรงข้าม ซึ่งจะเป็นสีที่อยู่ ตรงข้ามกันในวงล้อสี เช่น ฟ้า กับ ส้ม ซึ่งจะให้ผลของการสร้างจุดสนใจ แต่ควรจะใช้ในเปอร์เซ็นต์ที่ 20/ 80หรือ 70/30

ข้างเคียง หรือหลุดออกจากโครงสีนี้ได้ สี Analogus หรือโครงสีข้างเคียง คือสีที่อยู่ติดกัน อยู่ข้างเคียงกัน ในวงจรสี จะเป็นที่ละ 2 หรือ 3 หรือ 4 สีก็ได้ แต่ไม่ควรมากกว่านี้เพราสีอาจจะหลุดจากความ ข้างเคียง หรือหลุดออกจากโครงสีนี้ได้