Organization Design.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Foundations of Management Understanding
Advertisements

Maejo University Administrative Chart
ระบบการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
Chapter 13 Strategic Planning for Logistics Management
Organization Management
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
การวางแผนกลยุทธ์ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ อ.ศิริชัย วงศ์วัฒนไพบูลย์
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
การบริหารเชิงกลยุทธ์
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
1 Chapter 6 Artificial Intelligence (AI) Artificial Intelligence concepts Evolution of Artificial Intelligence.
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
STRATEGIC MANAGEMENT การจัดการเชิงกลยุทธ์
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
ทรัพยากรบุคคล: กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจ (Key Success Factor)
โครงการ : การศึกษาและจัดทำระบบ GIS การพัฒนาลุ่มน้ำกลุ่มจังหวัด ( บางปะกง ปราจีนบุรี นครนายก โตนเลสาป ) กลุ่ม D.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
Information Systems Development
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
การจัดการเชิงกลยุทธ์
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
การจัดการองค์การ (Organization Management)
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
หน่วยที่ 3 องค์การและการบริหารงานภายในองค์กร Organization & Management
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การบริหารทีมในองค์การ
Line Manager is Leader.
การจัดการทางการพยาบาล Management in Nursing
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
บทที่ 6. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
การผลิตและการจัดการการผลิต
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
ความหมายของการจัดโครงสร้างองค์การ
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
วิชา การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
บริษัทแพสคอนส์ได้จัดหลักสูตรอบรมสัมมนา Strategic Thinking for the Leaders ในวัน ศุกร์ ที่ 19 มิถุนายน 2558 ที่ โรงแรมลันตานา รีสอร์ท รัชดา เวลาสัมมนา.
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างองค์การ โครงสร้างตำแหน่งและโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน บทที่ 4. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
บทที่ 8. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
วิชาดุษฎีสัมนาบริหารขั้นสูง นวัตกรรม (Innovation)
เอกสารประกอบการสอนกฎหมายปกครอง1 ครั้งที่ 3
Introduction to Structured System Analysis and Design
องค์การและการจัดการ Organization and management (Mpp 5504)
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Organization Design

ความหมาย “การออกแบบองค์การ” Organization Design ความหมาย “การออกแบบองค์การ” กระบวนการสร้างความกลมกลืนระหว่าง โครงสร้างองค์การ คน งาน ระบบการให้รางวัล รวมถึงวัฒนธรรม และองค์การที่ไม่เป็นทางการ

ความสำคัญของการออกแบบองค์การ เมื่อองค์การมีขนาดใหญ่ขึ้น รูปแบบขององค์การจะแตกต่างไปตามประเภทของงานที่ทำ

ความสำคัญของการออกแบบองค์การ รูปแบบองค์การต้องสอดคล้องกับลักษณะของกลยุทธ์ที่เลือกใช้ เมื่อองค์การมีการพัฒนา ทางด้านเทคโนโลยี

องค์ประกอบพื้นฐานของการออกแบบองค์การ โครงสร้าง องค์การ งาน คน การให้รางวัล และ การตัดสินใจ วัฒนธรรม และองค์การที่ ไม่เป็นทางการ

องค์ประกอบพื้นฐานของการออกแบบองค์การ โครงสร้างองค์การ (Structure) โครงสร้างที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีการจัดแบ่งงานออกเป็นกลุ่มตามความชำนาญเฉพาะอย่าง (Specialization) และการประสานงาน (Coordination)

องค์ประกอบพื้นฐานของ การออกแบบองค์การ งาน (Tasks) กิจกรรมย่อยต่างๆของกลยุทธ์ ต้องชี้ชัดว่างานใคคือ “งานวิกฤต” (Critical Tasks) งานวิกฤตคือหัวใจสำคัญของการกำหนดรูปแบบองค์การ

องค์ประกอบพื้นฐานของ การออกแบบองค์การ คน (People) คนที่ทำงานอยู่ในองค์การ กับ คนงานในอนาคต เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับการจ้างงาน

องค์ประกอบพื้นฐานของ การออกแบบองค์การ ระบบการให้รางวัลและการตัดสินใจ (Decision and Reward Systems) วัฒนธรรมและองค์การที่ไม่เป็นทางการ (Informal Org. and Culture)

ความสอดคล้องและกลมกลืนขององค์ประกอบทั้ง 5 คนกับระบบการให้รางวัล งานกับคน งานกับระบบการให้รางวัล

ความสอดคล้องและกลมกลืนขององค์ประกอบทั้ง 5 คนกับโครงสร้างองค์การ องค์การไม่เป็นทางการกับคน งานกับโครงสร้างองค์การ

ทางเลือกในการออกแบบองค์การ โครงสร้างองค์การแบบง่าย (Simple Structure) เจ้าของ/ผู้จัดการ พนักงาน

ข้อดี 1. ควบคุมดูแลง่าย 2. ตัดสินใจรวดเร็ว 3. ไม่มีปัญหาการประสานงาน โครงสร้างองค์การแบบง่าย (Simple Structure) ข้อดี 1. ควบคุมดูแลง่าย 2. ตัดสินใจรวดเร็ว 3. ไม่มีปัญหาการประสานงาน 4. ควบคุมและจูงใจง่าย เจ้าของ/ผู้จัดการ พนักงาน

ข้อเสีย 1.เจ้าของต้องแบกภาระหนัก 2.ไม่มีการส่งเสริมพนักงาน โครงสร้างองค์การแบบง่าย (Simple Structure) เจ้าของ/ผู้จัดการ พนักงาน ข้อเสีย 1.เจ้าของต้องแบกภาระหนัก 2.ไม่มีการส่งเสริมพนักงาน 3.ไม่มีการวางแผนระยะยาว

โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานตามหน้าที่ (Functional Structure) PRESIDENT Vice President Research / Devel. Manufacturing Marketing Product A Product B Product C

โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานตามหน้าที่(Functional Structure) ข้อดี 1. เกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง 2. ควบคุมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง 3. สามารถส่งเสริมและสนับสนุนหน่วยงานหลักได้เต็มที่

โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานตามหน้าที่(Functional Structure) ข้อเสีย 1. ความชำนาญเฉพาะอย่างก่อให้เกิดความเบื่อหน่ายในงานที่ทำ 2. เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน 3. ประสานงานยาก 4. Line กับ Staff อาจขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน

โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานเป็นฝ่าย (Divisional Structure) PRESIDENT Vice President Product A Division Product B Product C Research / Development Manufacturing Marketing

โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานเป็นฝ่าย (Divisional Structure) ข้อดี เกิดการประสานงานและตัดสินใจได้รวดเร็ว ฝึกผู้จัดการฝ่ายให้เป็นนักวางแผน ผู้บริหารระดับสูงมีเวลาวางแผนกลยุทธ์สำหรับส่วนรวม

โครงสร้างองค์การแบบแบ่งงานเป็นฝ่าย (Divisional Structure) ข้อเสีย เกิดการแข่งขันแย่งทรัพยากร ปัญหาเกี่ยวกับขอบข่ายของอำนาจหน้าที่ นโยบายของแต่ละฝ่ายอาจขัดแย้งกัน

โครงสร้างองค์การแบบ SBU (Strategic Business Units) ประธาน รองประธานฝ่าย SBU 1 SBU 2 SBU 3 รองประฝ่าย Operating Service Administrative Service Divisions A B C D E F G H I

โครงสร้างองค์การแบบ SBU (Strategic Business Units) ข้อดี สร้างการประสานงานที่ดีสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกัน การบริหารและการควบคุมรัดกุมขึ้น ช่วยทำให้การวางแผนมีความละเอียดรอบคอบมากขึ้น

โครงสร้างองค์การแบบ SBU (Strategic Business Units) ข้อเสีย ทำให้สายการบังคับบัญชายาวขึ้น เกิดการแข่งขันแย่งทรัพยากรมากขึ้น เกิดความยุ่งยากสำหรับอิสระในการทำงานของผู้บริหารกลุ่มSBU กับ ผู้บริหาร Divisions

โครงสร้างองค์การแบบ Matrix General Manager Functional Manager A Manager B Manager C Project Manager 1 Employee A1 B1 C1 Manager 2 A2 B2 C2 Group Project Team

โครงสร้างองค์การแบบ Matrix ข้อดี เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเต็มที่ ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในองค์การ ทำให้ผู้บริหารระดับกลางได้พัฒนาตนเองให้เป็นนักวางแผนที่ดี

โครงสร้างองค์การแบบ Matrix ข้อเสีย คนงานอาจสับสนและขัดแย้งในการทำงานเนื่องจากต้องรับผิดชอบงานอ 2 ด้าน ต้องมีระบบการประสานงานที่ดี

การออกแบบองค์การ และขนาดขององค์การ ความชำนาญเฉพาะอย่าง น้อย = คนทำงาน หลากหลาย มาก = คนทำงาน เฉพาะอย่าง organization design

การออกแบบองค์การ และขนาดขององค์การ มาตราฐาน น้อย = แค่งานสำเร็จ มาก = งานรูปแบบง่าย การกระจายอำนาจ น้อย = Centralization มาก = Decentralization

ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบองค์กร สภาพแวดล้อม (Environment) นโยบายรัฐบาล คุณค่าของสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี etc. เทคโนโลยี (Technology) ขนาดขององค์การ (Size)

การออกแบบองค์กรในอนาคต ระดับชั้นของผู้บริหารมีน้อยลง องค์กรแบบแบนราบ (Flat Organization) แผนกงานมีอิสระมากขึ้น การกระจายอำนาจ (Decentralized) แยกระบบงานให้ทำงานเป็นอิสระ ใช้ทรัพยากรต่างๆโดยไม่จำกัด