การป้องกันกำจัด ด้วงหนวดยาวอ้อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมข้อมูลขึ้น web ธนิษฐา ชุ่มปัก. 1. พิมพ์ข้อมูลเกียรติประวัติและรางวัลดีเด่น.
Advertisements

การสั่งงาน , มอบหมายงานและ การติดตาม ประเมินผลงาน อย่างมีประสิทธิภาพ
โดย ระบบการเงินการคลังมหาวิทยาลัยขอนแก่น KKUFMIS
เส้นทางหนีไฟ อาคาร 5 ชั้น 1. เส้นทางหนีไฟ อาคาร 5 ชั้น 1.
ปฐพีศาสตร์ สาขาวิชา.
in Research for Health Development
การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์
พญ. วนัสริน ไมตรีมิตร 24 มิ.ย. 57
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
CFA Analysis by LISREL 1.คลิก File 2. คลิก Open 3. คลิกเลือก File
RODENTICIDE Veerakit Techakitiroj M.Sc. in Pharm. (Pharmacology)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
1.คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน คณิตศาสตร์กับธรรมชาติ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
Self Certification Systems
Class Aplacophora.
การบันทึกข้อมูลจังหวัดกระจาย ลงพื้นที่ ( ตำบล / อำเภอ ) จัดทำโดย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนัก งบประมาณ 22ตุลาคม2552.
 หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ซ่อมเครื่องปริน  ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ถอดฝาหลังที่คลุม เครื่องปริน HP ทำการถอดน็อต เพื่อทำการถอดฟิวเซอร์ ออกมาเปลี่ยนเป็นของใหม่
การออกแบบ cai. อะไรทำให้ CAI ดีและน่าสนใจ 1. มีคำแนะนำการใช้ที่เข้าใจง่าย 2. ตระหนักว่า hardware อย่างเดียวไม่อาจ ทำให้ CAI มีคุณค่าได้ ทำให้ CAI มีคุณค่าได้
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง การ กำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตร ของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียน ( ฉบับที่
การแก้ไขปัญหาสิทธิสตรีด้วย
การประชุมบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 2/2556 วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ. ศ ณ ห้องประชุมทางไกล SC1218 และ SC216.
งานวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การแปลผล ABG ศรีวรรณ เรืองวัฒนา.
การกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน
การอบรมการใช้ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
ทีมสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
การตรวจเลือดเพื่อวินิจฉัยโรคมาลาเรีย
โรคฟันผุในเด็กปฐมวัย
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
การกำจัดขยะและสารเคมี
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ทรัพยากรธรณี เรื่อง ดิน
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
การขอความยินยอมเข้าร่วมในการศึกษาโครงการ HIV/AIDS
การตรวจวินิจฉัยชนิด และการนับเชื้อมาลาเรีย
โดย ศาสตราจารย์ระพีพรรณ คำหอม
มาทำความรู้จักกับ เห็ดเผาะดาว.
การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 45/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันกำจัด ด้วงหนวดยาวอ้อย กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดลพบุรี

ด้วงหนวดยาวอ้อย หรือ ชาวบ้านเรียก ด้วงเจาะลำต้น วงจรชีวิต ( ๖-๒๐ วัน) ๗-๑๘วัน ตัวเต็มวัย ๑๑-๑๒ วัน ดักแด้ ระยะไข่ (อายุ ๑- ๒ เดือน) ระยะตัวหนอน มี ๗-๘ ระยะ

ตัวอ่อน หนอน   ลำตัวสีขาวนวลตลอดทั้งตัว  รูปร่างแบนทรงกระบอกและแบนเล็กน้อย บริเวณอกกว้างกว่าส่วนท้องเล็กน้อย หัวกะโหลกมีสีน้ำตาลและมีขนาดเล็กกว่าลำตัวมาก ปากขนาดเล็กแต่มีเขี้ยวแข็งแรง ขามีขนาดเล็กมาจนแทบมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เมื่อโตเต็มที่มีขนาดใหญ่มาก คือ ยาว 70-100 มิลลิเมตร กว้าง 20-30 มิลลิเมตร หัวกะโหลกกว้าง 12 มิลลิเมตร

ระยะดักแด้  ระยะดักแด้ อายุดักแด้ประมาณ 7-18 วัน ก็ออกเป็นตัวเต็มวัย ดักแด้ เป็นแบบ exarate หนวด ขา และปีกเคลื่อนไหวเป็นอิสระ เห็นได้ชัดเจน ยาวประมาณ 40-50 มม. กว้าง 24-26 มม รังดักแด้เป็นรูปไข่ขนาดยาวประมาณ 60-70 มม. กว้าง 40-50 มม. หนอนที่เข้าดักแด้ใหม่ๆ มีสีขาวนวล แล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนใหญ่พบหนอน 1-3 ตัว ต่อกออ้อย 1 กอ

ตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัย มีสีน้ำตาลแดง ยาวประมาณ 25 - 40 มม. กว้าง 10 - 15 มม. ตรงปลายปล้องสุดท้ายของส่วนท้องเพศเมียมีลักษณะมน ส่วนเพศผู้ตรงปลายเว้าและมีขนที่ด้านล่างของส่วน ตัวเต็มวัยออกจากดักแด้ในดินหลังจากฝนตก 2 - 4 วัน ในเวลากลางคืน ตั้งแต่เดือนมีนาคม – มิถุนายน และพบว่าออกมากที่สุดในเดือนเมษายน มีนิสัยว่องไวมากในเวลากลางคืนเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วในบริเวณไร่อ้อยส่วนในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวอยู่นิ่งๆ ตามโคนต้นอ้อย ถึงแม้ว่าตัวเต็มวัยจะมีปีกแข็งแรงแต่ไม่ชอบบิน

ลักษณะการทำลาย ลักษณะการทำลายของแมลง หนอนเริ่มเข้าทำลายอ้อยเกือบตลอดอายุการเจริญเติบโต หนอนเริ่มเข้าทำลายตั้งแต่ระยะเริ่มปลูกอ้อย โดยเจาะไชเข้าไปกัดกินเนื้ออ้อยภายในท่อนพันธุ์ ทำให้ท่อนพันธุ์อ้อยไม่งอก หน่ออ้อยอายุ 1-3 เดือนจะถูกกัดกินตรงส่วนโคนที่ติดกับเหง้าให้ขาดออกทำให้หน่ออ้อยแห้งตายเมื่อหนอนโตขึ้นมีขนาดยาวประมาณ 40 มม. จะเริ่มเจาะไชจากส่วนโคนลำต้นขึ้นไปเพื่อกินเนื้ออ้อย ความเสียหายที่เกิดกับอ้อย  เข้าทำลายทางโคนต้นใต้ดินแล้วเจาะไชเข้ากัดกินภายในลำต้น   กัดกินหน่ออ้อยส่วนโคนจนขาดทำให้แห้งตาย   

การแพร่ระบาด ระยะเวลาที่แพร่ระบาด ตัวเต็มวัยออกจากดักแด้ในดินหลังจากฝนตก 2 - 4 วัน ในเวลากลางคืน ตั้งแต่เดือนมีนาคม – มิถุนายน และพบว่าออกมากที่สุดในเดือนเมษายน สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการแพร่ระบาด พบระบาดมากในสภาพดินร่วนปนทรายที่มี pH 6.9 ดินมีอินทรีย์วัตถุ 1.15 - 1.22%

พืชอาหาร อ้อย และ มันสำปะหลัง อ้อย และ มันสำปะหลัง การสุ่มตัวอย่างหลังจากตัดอ้อยเข้าโรงงาน ควรสุ่มตัวอย่างโดยวิธีเส้นทะแยงมุม หรือ ซีเควนเชียล ถ้าอ้อยถูกทำลายมากกว่า 24%กอ หรือ 7.23%ลำ ควรไถทิ้งและปลูกใหม่ ถ้าไว้ตออาจไม่คุ้มค่า จะถูกกินหมด และไม่ได้เก็บเกี่ยว

คำแนะนำการป้องกันกำจัด ขณะที่ไถไร่ ควรเดินเก็บหนอนตามรอยไถ 1-2 ครั้ง ก่อนปลูกอ้อย ควรส่งเสริมให้มีการนำตัวหนอนไปประกอบอาการ ปลูกพืชหมุนเวียน โดยปลูกมันสำปะหลัง แม้ว่าหนอนชนิดนี้จะเข้าทำลายมันสำปะหลังโดยเจาะเข้าไปที่โคนต้นมันสำปะหลังให้เป็นโพรง และหักล้มในที่สุด บางครั้งพบเจาะเข้าไปกินในหัวมัน แต่การเข้าทำลายมันสำปะหลังก็รุนแรงน้อยกว่าในอ้อยมาก ในแหล่งที่พบการระบาด หลังวางท่อนพันธุ์ควรมีการฉีดพ่นด้วยสารแขวนลอยของเชื้อราเขียว จึงกลบ จะสามารถป้องกันตัวหนอนได้ประมาณ 1 ปีในกรณีที่ไม่มีตัวหนอนเข้าทำลายอ้อย แต่หากมีหนอนได้รับเชื้อราเข้าทำลาย  เชื้อราสามารถกระจายต่อไปได้เรื่อย ๆ จากตัวหนอนที่ตาย

อาจใช้สารเคมีโรยในร่องอ้อย endosuldan + fenobucarb (Thiocorb 4 อาจใช้สารเคมีโรยในร่องอ้อย  endosuldan + fenobucarb (Thiocorb 4.5% G) อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจึงกลบร่อง หรือ ฉuดพ่นด้วยสาร fipronil (Asscend 5% SC) อัตรา 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดแล้วกลบดิน ในช่วงปลายมีนาคม-เมษายนของทุกปี ด้วงหนวดยาวอ้อยเริ่มออกจากดักแด้มาเป็นตัวเต็มวัย ใช้วิธีกลคือ ขุดหลุมดักจับ โดยตัวเมียหลังจากออกจากดักแด้จะปล่อยสารล่อทางเพศออกมา ตัวผู้ก็เดินตาม เมื่อตกลงไปในหลุมก็จะไม่สามารถขึ้นมาได้ และควรรองก้นหลุมด้วยพลาสติก เพื่อป้องกันการวางไข่ของด้วงหนวดยาวได้

การใช้สารเคมี สารเคมีป้องกันและวิธีการใช้   ๑ carbofuran    ในแหล่งระบาดใช้สารเคมีอัตรา 10 กก./ไร่ โรยบนท่อนพันธุ์ตอนปลูก หรือตอนแต่งกอโรยข้างกออ้อยทั้งสองด้านและใส่ซ้ำอัตราเดิมหลังปลูกหรือสับตอ 45 วัน    ๒ chlordane    อัตราการใช้ 200 มล. / น้ำ 20 ลิตร หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยพ่นสารฆ่าแมลงในร่องอ้อยแล้วกลบดินใช้น้ำประมาณ 80 ลิตร/ไร่    ๓ Fipronil    ในแหล่งที่มีการระบาด หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยแล้วให้พ่นในอัตรา 80 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร   

การควบคุมกำจัดแมลง ๑. ขณะไถไร่ ควรเดินเก็บหนอนตามรอยไถ 1-2 ครั้ง , ปลูกพืชหมุนเวียนมันสำปะหลังหรือสับปะรด, ปลายมีนาคม-ต้นเมษายนด้วงหนวดยาวเริ่มออกเป็นตัวเต็มวัยให้ใช้วิธีกลขุดหลุมดักจับตัวเต็มวัย ๒ สารเคมีป้องกันและวิธีการใช้ ๑ carbofuran ในแหล่งระบาดใช้สารเคมีอัตรา 10 กก./ไร่ โรยบนท่อนพันธุ์ตอนปลูก หรือตอนแต่งกอโรยข้างกออ้อยทั้งสองด้านและใส่ซ้ำอัตราเดิมหลังปลูกหรือสับตอ 45 วัน ๒ chlordane อัตราการใช้ 200 มล. / น้ำ 20 ลิตร หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยพ่นสารฆ่าแมลงในร่องอ้อยแล้วกลบดินใช้น้ำประมาณ 80 ลิตร/ไร่ ๓ Fipronil ในแหล่งที่มีการระบาด หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยแล้วให้พ่นในอัตรา 80 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร

จบการนำเสนอ