มาตรการกระตุ้นการเร่งรัดการเบิกจ่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
คู่มือการเปิดเผยข้อมูลราคากลาง ในระบบ e - GP สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
1 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ประชุมชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การแก้ไขสัญญาจ้างก่อสร้าง
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง E-Auctions
โจทย์ที่ได้รับ การดำเนินการจัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงตาม ว 462
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
การจัดหาพัสดุ ภายใต้กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง.
การปฏิบัติงานในระบบ GFMISช่วงสิ้นปีงบประมาณ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
นางนวลจันทร์ อุตมหาราช
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
สรุประเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ โดย นางสุคนธ์ทิพย์ ศรีจันทร์ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรการกระตุ้นการเร่งรัดการเบิกจ่าย ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง

การเตรียมการจัดหาพัสดุ - หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค 0405.3/ ว 316 ลว. 16 ส.ค. 59 ทราบยอดเงิน การเตรียมการจัดหาพัสดุโดยดำเนินการตามแผนและขั้นตอนการจัดหาพัสดุ จนถึงขั้นตอนได้ตัวผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ลงนามในสัญญา เมื่อได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ การบันทึกข้อมูลในระบบ e –GP สามารถบันทึกข้อมูลโครงการจัดซื้อจัดจ้างได้ทันที โดยไม่ต้องระบุรหัสงบประมาณและรหัสแหล่งเงิน แต่ต้องบันทึกรหัสดังกล่าวให้แล้วเสร็จก่อนการลงนามในสัญญา

การเตรียมการจัดหาพัสดุ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 พิจารณาแล้วเสร็จ ก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาในวาระที่ 2 ทราบยอดเงิน

การเตรียมการจัดหาพัสดุ ดำเนินการตามแผนและขั้นตอนการจัดหาพัสดุ จนถึงขั้นตอนได้ตัวผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เว้นแต่ ขั้นตอนการลงนามในสัญญาหรือข้อตกลงเป็น หนังสือให้ดำเนินการเมื่อได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ การเตรียมการจัดหาพัสดุ

การเตรียมการจัดหาพัสดุ เงื่อนไขในเอกสารประกวดราคา 1. จะลงนามในสัญญาได้เมื่อได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ 2. ไม่ได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ สามารถยกเลิกการจัดหาได้

การบันทึกรหัสงบประมาณและรหัสแหล่งของเงินในระบบ e-GP (ว 316) ทราบยอดเงินงบประมาณ บันทึกข้อมูลโครงการ การจัดทำสัญญา ไม่ต้องระบุรหัสงบประมาณและรหัสแหล่งเงิน ต้องระบุรหัสงบประมาณและรหัสแหล่งเงิน เมื่อสำนักงบประมาณกำหนดรหัสงบประมาณแล้ว ส่วนราชการจำเป็นต้องใส่รหัสงบประมาณ

สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง วิธี ตกลงราคา วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธีสอบราคา e – market e –bidding 1. กองคลังแจ้งยอดเงินงบประมาณให้หน่วยจัดซื้อจัดจ้างทราบ เพื่อเตรียมการจัดหาพัสดุ √ 2. กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง 4. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง เสนอหัวหน้า ส่วนราชการผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ 5. นำร่างเอกสาร e – bidding เผยแพร่ให้สาธารณชนวิจารณ์ฯ (วงเงินจัดหาเกิน 5,000,000 บาท)

สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ) สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ) ขั้นตอน วิธี ตกลงราคา วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธีสอบราคา e – market e –bidding 6. เผยแพร่ประกาศและเอกสารสอบราคา/e – market / e- bidding - √ 7. เจ้าหน้าพัสดุติดต่อผู้ขาย / ผู้รับจ้างโดยตรง คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ 8. การพิจารณาผล เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการ

สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ) สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ) ขั้นตอน วิธี ตกลงราคา วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธีสอบราคา e – market e -bidding 9. รายงานผลการดำเนินการต่อหัวหน้าส่วนราชการ และ ขออนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง √ 10. การจัดทำข้อตกลงเป็นหนังสือ/สัญญา การบริหารสัญญา 12. การส่งมอบ/ ตรวจรับ/ตรวจการจ้าง 13. การเบิกจ่ายเงินตามสัญญา

การจ่ายเงินล่วงหน้า กำหนดเงื่อนไขไว้ในเอกสารสอบราคา / ประกวดราคา ตามระเบียบฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 68 เว้นแต่ หัวหน้าส่วนราชการเห็นว่า มีความจำเป็นจะต้องจ่าย กำหนดเงื่อนไขไว้ในเอกสารสอบราคา / ประกวดราคา จะกระทำมิได้

การจ่ายเงินล่วงหน้า (กรณีงานก่อสร้าง) ตามระเบียบฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 68 และ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2555 เรื่อง หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ต้องดำเนินการตั้งแต่ขั้นตอนการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง และขั้นตอนจัดทำร่างเอกสารสอบราคา/ประกวดราคา โดยจะต้องกำหนดเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา/ประกวดราคา เสนอหัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ

การจ่ายเงินล่วงหน้า การซื้อ/การจ้าง อัตราการจ่ายเงินล่วงหน้า หลักประกัน 1. ส่วนราชการ/หน่วยงานรัฐ ไม่เกินร้อยละ 50 ของราคาซื้อหรือจ้าง - 2. สถาบัน/หน่วยงานอื่นในต่างประเทศ/ ซื้อเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ตามที่ตกลงกับสถาบันหรือตามเงื่อนไขที่ผู้ขายกำหนด 3. การบอกรับวารสารหรือสั่งจองหนังสือ หรือการจัดซื้อฐานข้อมูลสำเร็จรูป (CD –ROM) ที่มีลักษณะต้องบอกรับเป็นสมาชิกก่อน/สมาชิกINTERNET เท่าที่จ่ายจริง 4. วิธีสอบราคา/ประกวดราคา ไม่เกินร้อยละ 15 ของราคาซื้อหรือจ้าง ต้องวางหลักประกัน 5. วิธีพิเศษ

การจ่ายเงินล่วงหน้า การจ้างที่ปรึกษา อัตราการจ่ายเงินล่วงหน้า หลักประกัน 1. ส่วนราชการ/หน่วยงานรัฐ ไม่เกินร้อยละ 50 ของค่าจ้าง ไม่ต้องวางหลักประกันก็ได้ 2. เอกชน ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้าง ต้องวางหลักประกัน

มาตรการเพิ่มความคล่องตัวในการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตามหนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 315 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2559 ขยายเวลามาตรการเพิ่มความคล่องตัวในการกำหนดวงเงินวิธีการจัดหาพัสดุออกไปพลางก่อนจนถึงวันที่ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐและการบริหารพัสดุภาครัฐมีผลใช้บังคับ

ขยายระยะเวลาตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421 ขยายระยะเวลาตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 315 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2559

ผลการจัดซื้อจัดจ้าง e-market และ e-bidding

ปรับปรุงประสิทธิภาพ e-market และ e-bidding - มาตรการรักษาความปลอดภัย

การควบคุมและตรวจสอบผู้ใช้งานในระบบ ด้านผู้ใช้งาน การควบคุมและตรวจสอบผู้ใช้งานในระบบ ด้านผู้ใช้งาน มีการจัดตั้งพื้นที่ควบคุมสำหรับผู้ดูแลระบบ (Control room) - กำหนดสิทธิ์เข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ควบคุม - กำหนดระยะเวลาเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ ควบคุม มีการนำระบบติดตามและควบคุมการทำงานของ ผู้ดูแลระบบมาใช้งาน - นำโปรแกรม Privileged Identity Management (PIM) มาใช้งาน - ลดจำนวนและเข้าใช้งานของผู้ดูแลระบบ

การควบคุมและตรวจสอบผู้ใช้งานในระบบ (ต่อ) ด้านระบบ ปรับปรุงเครือข่าย (Hardware/Network Security)เพื่อให้ มีความปลอดภัยมากขึ้น ปรับปรุงระบบติดตามและตรวจสอบ Log file มีการตรวจสอบช่องโหว่ของระบบ เพื่อป้องกันความ เสี่ยงจากผู้บุกรุกที่ไม่ได้รับอนุญาต (Hacker)

พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.....

1. ร่างพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. .... 1. สถานะของร่างพระราชบัญญัติฯ ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. .... โดยสรุปได้ดังนี้ 1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. .... ในวาระแรกเมื่อวันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม 2559 และได้มีการลงมติรับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฯ ดังกล่าว 2. คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. .... ได้กำหนดการประชุมทุกวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ ซึ่งจะครบกำหนดระยะเวลาการพิจารณาในวันที่ 29 สิงหาคม 2559 ตามที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) กำหนด และคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้ขอขยายระยะเวลาอีก จำนวน 30 วัน

2. หลักการจัดซื้อจัดจ้าง (1) คุ้มค่า คือ พัสดุที่จัดหามีคุณภาพหรือคุณลักษณะที่ ตอบสนองวัตถุประสงค์ ในการใช้งานของหน่วยงานของรัฐมากที่สุด และมีราคา ที่เหมาะสม โดยไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงราคาต่ำสุดเสมอไป (2) โปร่งใส คือ เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม และมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างทุก ขั้นตอนในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ของกรมบัญชีกลาง (3) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ มีการวางแผนการ จัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุล่วงหน้า และมีการประเมินผลการ จัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุทุกปี (4) ตรวจสอบได้ คือ มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อ ประโยชน์ ในการตรวจสอบ

3. หน่วยงานของรัฐภายใต้บังคับ ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น ราชการส่วนกลาง รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หน่วยงานอิสระของรัฐ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานอื่นๆ มหาวิทยาลัย ในกำกับ ของรัฐ

4. ขอบเขตการใช้บังคับ (ม. 6) โดยหลัก ให้ใช้บังคับกับหน่วยงานของรัฐทุกแห่ง รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐในต่างประเทศ หรือ หน่วยงานของรัฐอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ประสงค์จะจัดให้มีระเบียบขึ้นใช้เอง ก็ให้กระทำได้ โดยต้องดำเนินการให้สอดคล้อง กับหลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ใน ต่างประเทศนั้นมีกฎหมาย ธรรมเนียมปฏิบัติ หรือ จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ระเบียบดังกล่าว ต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการนโยบาย

5. ข้อยกเว้น ตามร่าง พ.ร.บ. (ม.7) ให้ใช้บังคับกับหน่วยงานของรัฐทุกแห่ง เว้นแต่ กรณี ดังต่อไปนี้ (1) การจัดซื้อจัดจ้างของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวกับการ พาณิชย์โดยตรง (2) การจัดซื้อจัดจ้างยุทโธปกรณ์และการบริการทางทหารโดยวิธีรัฐบาล ต่อรัฐบาล หรือโดยการจัดซื้อจัดจ้างจากต่างประเทศที่กฎหมายของ ประเทศนั้นกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น (3) การจัดซื้อจัดจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนาหรือการจ้างที่ปรึกษา ที่ไม่สามารถดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ได้ (4) การจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ ที่สัญญาหรือข้อกำหนด ในการให้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น (5) การจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ ที่สัญญาหรือข้อกำหนด ในการให้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ร่วมกับเงินงบประมาณ

ข้อยกเว้น ตามร่าง พ.ร.บ. (ม.7) (ต่อ) การจัดซื้อจัดจ้างตาม (1) (2) และ (3) ที่จะ ได้รับยกเว้นมิให้นำพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการนโยบายประกาศกำหนดในราช กิจจานุเบกษา โดยประกาศดังกล่าวจะกำหนดให้หน่วยงานของรัฐ เสนอเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างใดตาม (1) (2) หรือ (3) ต่อคณะกรรมการนโยบายเพื่ออนุมัติให้ได้รับ ยกเว้นเป็นรายกรณีไปก็ได้ การยกเว้นมิให้นำบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับแก่หน่วยงานของรัฐ ใดหรือการดำเนินการใดทั้งหมดหรือแต่บางส่วน นอกเหนือจากการยกเว้นตามวรรคหนึ่ง ให้ตรา เป็นพระราชกฤษฎีกา ตามข้อเสนอของคณะกรรมการนโยบาย

6. คณะกรรมการ ตาม พ.ร.บ. คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ คณะกรรมการ ราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน

7. องค์กรสนับสนุน กรมบัญชีกลาง มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ (1) ดูแลและพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (2) จัดทำฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุ (3) รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและจัดทำรายงานเสนอต่อคณะกรรมการนโยบาย (4) จัดให้มีการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐตามหลักวิชาชีพ

8. กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง กำหนดให้มีการประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง (1) วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป (2) วิธีคัดเลือก (3) วิธีเฉพาะเจาะจง เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ พิจารณาคุณภาพประกอบราคา การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ กำหนดให้ผู้ประกอบการต้องมาขึ้นทะเบียนไว้กับกรมบัญชีกลาง การเปิดเผยข้อมูลในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง

เปรียบเทียบวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ระเบียบฯ ร่าง พรบ. วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธี e-Auction วิธี e-Market, e-Bidding วิธีพิเศษ (มากกว่า 1 ราย) วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีพิเศษ (1 ราย) / วิธีตกลงราคา วิธีเฉพาะเจาะจง (ออกเป็นกฎกระทรวง) วิธีกรณีพิเศษ

9. การอุทธรณ์ ผู้ยื่นข้อเสนอมีสิทธิอุทธรณ์ ยื่นต่อหน่วยงานเจ้าของโครงการ ภายใน 7 วัน ทำการ หน่วยงานเจ้าของโครงการพิจารณาและวินิจฉัย อุทธรณ์ให้แล้วเสร็จ ภายใน 7 วันทำการ ไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ ให้เสนอต่อ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ภายใน 3 วันทำการ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ พิจารณา อุทธรณ์ ภายใน 30 วัน และขยายได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน

10. บทกำหนดโทษ (ม. 118-119) ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่หรือผู้มีอำนาจหน้าที่ในการ ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ตาม พระราชบัญญัตินี้โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยทุจริต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท ผู้ใดเป็นผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนในการกระทำความผิด ดังกล่าว ผู้นั้นต้องระวางโทษตามที่กำหนดไว้สำหรับ ความผิดนั้น

11. การป้องกันการทุจริต 1. ประกาศเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ 1. ประกาศเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี (ม.11) ประกาศจัดซื้อจัดจ้างและเอกสารเชิญชวน (ม.62) ประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้าง (ม. 66) สาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงที่ลงนาม แล้ว (ม. 96) การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ (ม. 53) การประกาศเผยแพร่ราคากลาง (ม. 63)

การป้องกันการทุจริต (ต่อ) 2. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน การจัดทำข้อตกลงคุณธรรม เปิดโอกาสให้ภาคประชาชนได้เข้ามามีส่วน ร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างของ หน่วยงานของรัฐ โดยการจัดทำข้อตกลงคุณธรรม ตาม โครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริตใน การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยให้เข้ามา เป็นผู้สังเกตการณ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด โครงการ การให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมรูปแบบอื่น ตามที่คณะกรรมการนโยบายประกาศ 3. บทกำหนดโทษ

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม ในการจัดหาพัสดุด้วยวิธี e-market และ e-bidding

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 1. กำหนดระยะเวลาในการพิจารณาผลการเสนอราคา • กำหนดไว้ในรายงานขอซื้อขอจ้าง • ให้เป็นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ • กรณีไม่สามารถดำเนินการได้ทันตามที่กำหนดไว้ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุหรือคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ แล้วแต่กรณี รายงานผลเบื้องต้นพร้อม เหตุผล ความจำเป็นหรือปัญหาอุปสรรค และกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ต่อหัวหน้าส่วนราชการ

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 2. การจัดทำประกาศและเอกสารประกวดราคา • ให้ใช้เอกสารที่ดำเนินการในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e – GP)

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 3.1 กรณีที่ผู้เสนอราคาได้ยืนยันราคาตามใบเสนอราคา ไม่ตรงกับราคารวมทั้งสิ้นที่ระบุไว้ในใบแจ้งปริมาณและราคา • ให้พิจารณาโดยถือราคาที่ผู้เสนอราคายืนยันตามใบเสนอราคาเป็นหลัก

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 3.2 กรณีที่ผู้เสนอราคาได้ยืนยันราคาตามใบเสนอราคา ไม่ตรงกับราคารวมทั้งสิ้นที่ระบุไว้ในใบแจ้งปริมาณและราคา เป็นผู้เสนอราคารายต่ำสุด ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ดำเนินการดังนี้ • ตรวจสอบปริมาณงานและราคาตามใบแจ้งปริมาณงานและราคาอีกครั้งหนึ่งว่า ยื่นข้อเสนอถูกต้อง ครบถ้วน ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในประกาศและเอกสารประกวดราคาหรือไม่ • หากตรวจสอบแล้วปรากฏว่า ยื่นปริมาณงานและราคาตามใบแจ้งปริมาณงานและราคา ถูกต้อง ครบถ้วนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในประกาศและเอกสารประกวดราคา ให้ดำเนินการต่อรองราคาตามใบเสนอราคากับผู้เสนอราคารายต่ำสุดให้มีราคาสอดคล้องตามใบแจ้งปริมาณงานและราคา

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding • กรณีต่อรองแล้วไม่ได้ผล หากพิจารณาเห็นว่าเป็นราคาที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน พิจารณารับราคาของผู้เสนอราคารายดังกล่าวตามใบเสนอราคาได้ ทั้งนี้ ก่อนการทำสัญญาจะต้องทำการประเมินราคาใหม่ให้ใบเสนอราคาและใบแจ้งปริมาณงานและราคา เป็นราคาที่เท่ากัน แต่ต้องไม่เกินกว่าราคาที่เสนอ ในใบเสนอราคา

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding กำหนดเงื่อนไข กรณีการซื้อหรือการจ้างใดที่มีรายละเอียดที่มีความซับซ้อนหรือ มีความจำเป็นโดยสภาพ ที่จะต้องมีการชี้แจงรายละเอียด ดังนี้ • กำหนดให้ผู้สนใจต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม สอบถามผ่านทางอีเมล์ของส่วนราชการ ตามวัน เวลา ที่ส่วนราชการกำหนด • ให้ส่วนราชการชี้แจงรายละเอียดดังกล่าว ผ่านเว็บไซต์ของส่วนราชการ และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง ก่อนวันเสนอราคาอย่างน้อย 2 วันทำการ

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 5.1 แบบบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 และบัญชีเอกสารส่วนที่ 2 (1) กำหนดแบบบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 และบัญชีเอกสารส่วนที่ 2 ไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e –GP) (2) กำหนดให้ผู้ยื่นเสนอราคาไม่ต้องแนบแบบบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 และบัญชีเอกสารส่วนที่ 2 ในรูป PDF File (3) ปรับรายละเอียดของแบบบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 และบัญชีเอกสารส่วนที่ 2 ให้สอดคล้องกับระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e –GP)

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 5.2 คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้างของ “กิจการร่วมค้า” กรณีที่กิจการร่วมค้าได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ โดยหลักการกิจการร่วมค้าจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคา และการเสนอราคาให้เสนอราคาในนาม “กิจการร่วมค้า” ส่วนคุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้างกิจการร่วมค้าดังกล่าวสามารถ นำผลงานก่อสร้างของผู้เข้าร่วมค้ามาใช้แสดงเป็นผลงานก่อสร้างของกิจการร่วมค้าที่เข้าประกวดราคาได้

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 5.2 คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้างของ “กิจการร่วมค้า” (ต่อ) (2) กรณีที่กิจการร่วมค้าไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ โดยหลักการนิติบุคคลแต่ละนิติบุคคลที่เข้าร่วมค้าทุกรายจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคา เว้นแต่ในกรณีที่กิจการร่วมค้าได้มีข้อตกลงระหว่างผู้เข้าร่วมค้าเป็นลายลักษณ์อักษรกำหนดให้ผู้เข้าร่วมค้ารายใดรายหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการเข้าเสนอราคากับทางราชการ และแสดงหลักฐานดังกล่าวมาพร้อม การยื่นข้อเสนอประกวดราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ กิจการร่วมค้านั้นสามารถใช้ผลงานก่อสร้างของผู้ร่วมค้าหลักรายเดียวเป็นผลงานก่อสร้างของกิจการร่วมค้าที่ยื่นเสนอราคาได้

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 5.2 คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้างของ “กิจการร่วมค้า” (ต่อ) (3) ความหมายของ “กิจการร่วมค้าที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่” “กิจการร่วมค้าที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต่อหน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่รับจดทะเบียน (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์)”

แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม e – market และ e - bidding 6. กำหนดหลักเกณฑ์ การวางหลักประกันการเสนอราของ “กิจการร่วมค้า” กรณีที่กิจการร่วมค้าได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ ให้ระบุชื่อในช่อง “ชื่อผู้เสนอราคา” ของหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ ของธนาคารภายในประเทศ ในนาม “กิจการร่วมค้า” เท่านั้น (2) กรณีที่กิจการร่วมค้าไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ ให้ระบุชื่อในช่อง “ชื่อผู้เสนอราคา” ของหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารภายในประเทศ ในนามนิติบุคคลรายใดรายหนึ่งตามที่สัญญาร่วมค้ากำหนดให้เป็นผู้เข้าเสนอราคากับทางราชการ

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม กองการพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง CALL CENTER โทร. 02-127-7000 ต่อ 4551 , 4588 , 4589 , 6125 หรือสอบถามผ่านช่องทาง Facebook : “จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ” e-mail : opm@cgd.go.th