กฎหมายประกันภัยทางทะเล Marine Insurance

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
Advertisements

สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
การออกคำสั่งทางปกครอง
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
แนะนำรายวิชา การประกันภัยสินค้า Free Powerpoint Templates.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ระดับความเสี่ยง (QQR)
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
อรัญ ศรีว่องไทย 6 ตุลาคม 2560
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
หุ้นส่วนและบริษัท การเป็นหุ้นส่วน คือ การทำสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อทำกิจการร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้จากกิจการนั้น.
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายประกันภัยทางทะเล Marine Insurance

ปัญหาที่เกิดจากการไม่มีกฎหมายประกันภัยทางทะเลและการอุดช่องว่างของกฎหมายในระบบกฎหมายไทย ป.พ.พ มาตรา 868 บัญญัติว่า “อันสัญญาประกันภัยทางทะเล ท่านให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายทะเล” เมื่อมีคดีการประกันภัยทางทะเลขึ้นสู่ศาล ศาลอุดช่องว่างของกฎหมายตาม มาตรา 4 ซึ่งวางหลักว่า “กฎหมายนั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้องด้วยบท บัญญัติใด ๆ แห่งกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุ่งหมาย ของบทบัญญัตินั้น ๆ เมื่อไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตาม จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ให้วินิจฉัย คดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งและถ้าบทกฎหมาย เช่นนั้นก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป”

การอุดช่องว่างโดยศาล ศาลฎีกาได้วินิจฉัยไว้ 2 แนวทาง คือ แนวทางแรก ใช้กฎหมายอังกฤษในฐานะหลักกฎหมายทั่วไป ตาม ฎ. 999/2496 และ ฎ.7304/2537 แนวทางที่สอง ให้ใช้ ป.พ.พ ว่าด้วยประกันภัยในฐานะบทกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่งในการวินิจฉัยคดี โดยตาม ฎ. 6649/2537

ปัญหาที่เกิดจากการอุดช่องว่างทางกฎหมาย ปัญหาความไม่แน่นอน ปัญหาความไม่ชัดเจน ปัญหาความไม่เหมาะสม เช่น การให้ใช้กฎหมายอังกฤษเป็นหลักกฎหมายทั่วไป ข้อพิจารณา - นักกฎหมายไทยมีความรู้กฎหมายอังกฤษหรือไม่- กฎหมายอังกฤษถือเป็นข้อกฎหมายหรือข้อเท็จจริง - นักกฎหมายไทยมีโอกาสติดตามการเปลี่ยนแปลงกฎหมายประกันภัยของอังกฤษมากน้อยเพียงใด การใช้ ป.พ.พ ว่าด้วยประกันภัยเป็นบทกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่ง ข้อพิจารณา - มีความแตกต่างระหว่างประกันวินาศภัยและประกันภัยทางทะเล

ปัญหาผู้ที่เกี่ยวข้องกับประกันภัยทางทะเลไม่มีโอกาสทราบสิทธิและหน้าที่ของตนอย่างชัดเจน จำเป็นต้องมีกฎหมายเพื่อความชัดเจนแน่นอนสำหรับการค้าพาณิชย์ทั้งหลาย กฎหมายประกันภัยของไทยโดยเฉพาะ

บทบาทของกฎหมายประกันภัยทางทะเลของอังกฤษ 1. บทบาทของกฎหมายประกันภัยทางทะเลของอังกฤษที่มีต่อประเทศต่างๆ พ.ร.บ.การประกันภัยทางทะเล ค.ศ 1906 ได้กลายเป็นกฎหมายระหว่างประเทศโดยพฤตินัย (a de facto international marine insurance legal regime)

2. บทบาทของกฎหมายประกันภัยทางทะเลของอังกฤษในประเทศไทย มีบทบาทในการพิจารณาตัดสิน 2 ลักษณะ คือ 2.1 กฎหมายอังกฤษในฐานะกฎหมายซึ่งคู่สัญญาประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่ข้อพิพาท 2.2 กฎหมายอังกฤษในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการอุดช่องว่างของกฎหมาย

พระราชบัญญัติประกันภัยทางทะเลของอังกฤษ Marine insurance act 1906 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก บทมาตราต่างๆ ม.1-94 ส่วนที่สอง ตารางแนบท้ายพ.ร.บ Schedule 1 ตอนต้น กรมธรรม์ประกันภัยมาตรฐานของ Lloyd’s - Lloyd’s S&G Policy Schedule 1 ตอนท้าย กฎหรือหลักในการตีความกรมธรรม์ประกันภัย Rule for Construction of Policy 17 ข้อ

พระราชบัญญัติประกันภัยของอังกฤษ The insurance act 2015 มีผลใช้บังคับ 12 สิงหาคม 2016 มีเนื้อหา 7 บท 23 มาตรา และตารางแนบท้าย 2 ตาราง ตารางที่ 1 วิธีการเยียวยาของผู้รับประกันภัยสำหรับการปฏิบัติผิดหน้าที่ของผู้เอาประกันภัย ตารางที่ 2 สิทธิของบุคคลภายนอกต่อผู้รับประกันภัย

The insurance act 2015 แก้ไขและเพิ่มหลักการใหม่ ดังนี้ (1) หน้าที่ในการเปิดเผยข้อเท็จจริงอย่างยุติธรรม (2) วิธีการแก้ไขเยียวยาสำหรับการปฏิบัติผิดหน้าที่ในการเปิดเผยข้อเท็จจริงอย่างยุติธรรม (3) คำรับรองและเงื่อนไขอื่นๆ (3.1) ข้อตกลงเรื่อง “Basic of Contract” (3.2) ผลของการฝ่าฝืนคำรับรอง (3.3) การฝ่าฝืนคำรับรองหรือเงื่อนไขอื่นๆ ที่ไม่ได้ส่งผลให้ความเสี่ยงในการเกิดความสูญหายหรือเสียหายที่เกิดขึ้นจริงนั้นเพิ่มขึ้น

(4) การใช้สิทธิเรียกร้องโดยฉ้อฉล (5) หลักสุจริต (6) ข้อตกลงยกเว้นข้อกฎหมาย

คำพิพากษาของศาล Case Law กรมธรรม์ประกันภัยมาตรฐาน Standard Policy ข้อสัญญามาตรฐาน Institute Clauses

ส่วนได้เสียอันอาจเอาประกันภัยได้ เปรียบเทียบกฎหมายประกันภัยทางทะเลของอังกฤษและกฎหมายประกันวินาศภัยของไทย ส่วนได้เสียอันอาจเอาประกันภัยได้ (Insurable interest) ความหมายของส่วนได้เสียอันอาจเอาประกันภัยได้ ป.พ.พ. มาตรา 863 “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถ้าผู้เอาประกันภัยมิได้มีส่วน ได้เสียในเหตุที่ประกันภัยไว้นั้นไซร้ ท่านว่าย่อมไม่ผูกพันคู่สัญญาแต่ อย่างหนึ่งอย่างใด”

อ.จำรัส เขมะจารุ อธิบายว่า “ส่วนได้เสียในเหตุที่ประกันภัย หมายถึง ความสัมพันธ์ที่ผู้เอาประกันภัยมีต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไว้ ซึ่งถ้ามีวินาศภัยเกิดแก่ทรัพย์สินนั้น ย่อมมีผลกระทบกระเทือนเสียหายถึงผู้เอาประกันภัยด้วย” อ.ไชยยศ เหมะรัชตะ “ส่วนได้เสียในเหตุที่ประกันภัย หมายถึง เมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้น ผู้ใดมีส่วนที่จะได้รับประโยชน์หรือมีส่วนต้องเสียหายในเหตุการณ์นั้น ผู้นั้นย่อมมีส่วนได้เสีย สามารถเอาประกันภัยในเหตุการณ์นั้นได้”

ฎ 4380/2527 ผู้มีสิทธิเอาประกันภัยมิได้จำกัดเพียงเฉพาะผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เอาประกันภัยเท่านั้น ผู้ที่มีความสัมพันธ์อยู่กับทรัพย์หรือสิทธิหรือผลประโยชน์หรือรายได้ใดๆ ซึ่งถ้ามีวินาศภัยทำให้ผู้นั้นเสียหาย และความเสียหายนั้นประมาณเป็นเงินได้ ผู้นั้นย่อมมีส่วนได้เสียตามม. 863

พระราชบัญญัติประกันภัยทางทะเล ค.ศ 1906 มาตรา 5 ให้นิยาม ส่วนได้เสียอันอาจเอาประกันภัยได้ ส่วนได้เสียมีสาระสำคัญ 2 ประการ คือ บุคคลใดก็ตามซึ่งมีส่วนได้เสียในการเสี่ยงภัยทางทะเล (marine adventure) ถือว่ามีส่วนได้เสียอันอาจเอาประกันภัยได้ และ เขามีความเกี่ยวพันทางกฎหมายหรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่งกับการเสี่ยงภัยหรือกับทรัพย์สินใดๆที่เอาประกันภัยได้ ซึ่งเขาอาจได้รับประโยชน์หากทรัพย์สินที่เอาประกันภัยปลอดภัยหรือถึงที่หมายตามกำหนดหรืออาจได้รับความเสียหายหากทรัพย์สินที่เอาประกันสูญหายหรือถูกยึดหรือเกิดความรับผิดใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้น

สิทธิตามกฎหมายหรือสัญญา ถือว่ามีส่วนได้เสียแน่นอน ความคาดหวังว่าจะมีส่วนได้เสีย (a mere expectation of interest) ไม่ถือว่ามีส่วนได้เสีย คดี Lucena V Craufurd

2. บุคคลที่ถือว่ามีส่วนได้เสีย กฎหมายระบุบุคคลที่อาจมีส่วนได้เสีย แบ่งเป็น 4 จำพวก คือ ผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เอาประกันภัย ซึ่งอาจเป็นเรือ สินค้าหรือค่าระวาง ม.14(3) ผู้ที่ให้กู้ยืมเงินโดยมีเรือหรือสินค้าเป็นหลักประกัน ม. 10 ผู้มีสิทธิได้รับค่าจ้าง ได้แก่ นายเรือและลูกเรือ ม. 11 ผู้รับประกันภัย ม. 9 นอกจากนี้ยังมีบุคคลอื่นที่กฎหมายไม่ได้กล่าวเฉพาะเจาะจง เช่น ตัวแทน ผู้รับขน ผู้ที่ยึดหรือจับกุมเรือหรือสินค้า ผู้มีบุริมสิทธิ์ เป็นต้น

3. ประเภทของส่วนได้เสีย 3.1 ส่วนได้เสียบางส่วน (partial interest) ม. 8 การมีส่วนได้เสียไม่ว่าลักษณะใดย่อมสามารถเอาประกันภัยได้ เช่น เจ้าของรวมในเรือหรือสินค้า 3.2 ส่วนได้เสียที่ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง (contingent) หรือส่วนได้เสียที่อาจหมดไป(defeasible) ถือเป็นส่วนได้เสียซึ่งอาจเอาประกันภัยได้ ม.7(2) ในส่วนนี้ ป.พ.พ.มิได้บัญญัติไว้

4.เวลาที่ต้องมีส่วนได้เสีย ป.พ.พ. มาตรา 863 มิได้กำหนดชัดแจ้งว่า เวลาใดที่ผู้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสีย นักกฎหมายไทยอธิบายว่า เวลาที่มีส่วนได้เสียคือขณะที่เกิดสัญญาประกันภัย แม้ต่อมาส่วนได้เสียหมดสิ้นลงในระหว่างอายุสัญญา ก็ไม่มีผลกระทบถึงความสมบูรณ์ของสัญญา

พระราชบัญญัติประกันภัยทางทะเล ค.ศ 1906 มาตรา 6 (1) ผู้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสียในวัตถุที่เอาประกันภัยในเวลาที่เกิดความเสียหายเกิดขึ้น แต่ว่าไม่จำเป็นต้องมีส่วนได้เสียในขณะทำสัญญาประกันภัย วางหลักสัญญาประกันภัยทางทะเลที่เป็นการพนันขันต่อให้ตกเป็นโมฆะ ม.4

ความแตกต่างหลักกฎหมายไทยกับกฎหมายอังกฤษ ผู้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสียขณะทำสัญญา ผู้เอาประกันภัยไม่มีส่วนได้เสียขณะเกิดภัย ส.ไม่ตกเป็นโมฆะหรือเสียไป แต่ผู้เอาประกันภัยไม่มีสิทธิได้รับชดใช้ค่าสินไหมทดแทน อังกฤษ ผู้เอาประกันภัยคาดหวังว่าจะมีส่วนได้เสียในขณะทำสัญญาก็เพียงพอแล้ว ผู้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสียขณะเกิดภัย

ข้อยกเว้นหลักผู้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสียขณะเกิดภัย ได้แก่ lost or not lost policy กฎหรือหลักในการตีความกรมธรรม์ภัย ข้อ 1

5. ผลของการไม่มีส่วนได้เสีย ป.พ.พ มาตรา 863 สัญญาประกันภัยย่อมไม่มีผลผูกพันคู่สัญญา จึงเรียกให้ส่งเบี้ยประกันภัยหรือให้ใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่ได้ ส่วนเบี้ยประกันเรียกคืนได้ตามหลักเรื่องลาภมิควรได้ ม. 406 หรือ เรียกคืนไม่ได้เพราะเป็นพนันขันต่อ ม. 853 ขึ้นดับความสุจริตของผู้เอาประกันภัย กฎหมายอังกฤษ สัญญานั้นเป็นพนันขันต่อและตกเป็นโมฆะ ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิได้รับเบี้ยประกันภัยคืน ตราบเท่าที่ผู้เอาประกันไม่ฉ้อฉลหรือทำผิดกฎหมาย แต่อย่างไรก็ตามโดยผลของmarine Insurance (Gambling Policy) Act 1909 กำหนดให้การประกันภัยโดยไม่มีส่วนได้เสียและไม่คาดหวังว่าจะมีส่วนได้เสียเป็นการผิดกฎหมาย ดังนั้นผู้เอาประกันภัยเรียกเบี้ยประกันคืนไม่ได้

ในกรณีผู้เอาประกันภัยไม่มีส่วนได้เสียขณะทำสัญญาแต่คาดหวังจะมีภายหลัง แม้ต่อมาจะไม่มีส่วนได้เสีย ส.ประกันภัยไม่กลายเป็นพนันขันต่อ จึงไม่เป็นโมฆะ ผู้เอาประกันมีสิทธิได้รับเบี้ยประกันภัยคืน ม.84 (1) และ(3)(ค)