GATT & WTO.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
EC451 International Trade Theory and Policy
Advertisements

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
NAMA (Non-Agricultural Market Access)
การเก็บข้อมูล (Data Collecting)
งานวิจัยและตำแหน่งวิชาการ
การค้าระหว่างประเทศ (International Trade)
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
Globalization and the Law III
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Kunming University of Science and Technology, China
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
เอกสารประกอบการสอน วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมบริการ (TAH1201) Tourism Industry and Hospitality Management Program.
การรวมกลุ่มประเทศ ทางเศรษฐกิจ
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องประชาคมอาเซียน
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
กฎหมายการค้าของเอกชนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
เรื่องของอาเซียน.
ภาพรวมและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความตกลง FATCA
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
สถานการณ์การผลิตและการตลาด พืชตระกูลถั่ว
อนุญาโตตุลาการ (Arbitration)
องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เรื่องขั้นตอนการเตรียมการจัดการเอกสารเพื่อการขนส่ง
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
มาตรฐานสากลแห่งการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
Chapter 4 Treatment of Aliens & State Responsibilities
Globalization and the Law
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม.
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
การเลี้ยงไก่ไข่.
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
Chapter 9 กฎหมายพาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส Edit
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
สวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลของข้าราชการ
The Theory of Comparative Advantage: Overview
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
SERVICE MARKETING การตลาดบริการ • ความหมายของการบริการ • ความสำคัญของการบริการ • ความแตกต่างระหว่างสินค้าและการบริการ • ประเภทธุรกิจบริการ.
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
The 41st National and 5th International Graduate Research Conference
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมา นำเสนอเว็บไซต์ระบบคลังข้อมูลทางการค้าของไทย
อำนาจหน้าที่ของศึกษาธิการจังหวัด
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และ 801
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

GATT & WTO

สาเหตุของการกีดกันทางการค้า 1. ความแตกต่างของปัจจัยการผลิตและสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันของแต่ละประเทศส่งผลให้ราคาสินค้าของแต่ละประเทศแตกต่างกัน 2. การเลือกปฏิบัติที่เป็นลักษณะของข้อจำกัดทางการค้าของแต่ละประเทศที่เกิดจาก นโยบายการค้าและการเงินของแต่ละประเทศแตกต่างกัน - อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่แตกต่างกัน - การเก็บภาษีนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ (Tariff) และมาตรการที่ไม่ใช้ภาษี (Non-Tariff) 3. ระบบการเงินการธนาคารที่แตกต่างกัน (ผลต่อการชำระเงินระหว่างประเทศ) 4. พิธีการศุลกากรที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศ 5. นโยบายของผู้นำทางการเมืองของแต่ละประเทศที่แตกต่างกัน

ผลของการกีดกันทางการค้า การสร้างอุปสรรคทางการค้าจะส่งผลกระทบ - การไม่มีประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร - ผู้บริโภคถูกจำกัดในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการ - สินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศมีคุณภาพต่ำ - ผลต่อการกระจายรายได้ของแต่ละประเทศ

ระดับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในลักษณะเสรี 1. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) เป็นรูปแบบการรวมกลุ่มที่ประเทศสมาชิกในกลุ่มลดหรือยกเลิกอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน แต่ประเทศสมาชิกยังคงมีอิสระในการตัดสินใจทางการค้ากับประเทศนอกสมาชิกได้อย่างเสรี 2. สหภาพศุลกากร (Custom Union) เป็นรูปแบบการรวมกลุ่มที่คล้ายคลึงกับเขตการค้าเสรี ยกเว้นประเทศสมาชิกในกลุ่มมีข้อตกลงทางการค้ากับประเทศนอกสมาชิกรวมกัน 3. ตลาดร่วม (Common Market) การรวมกลุ่มในรูปแบบสหภาพศุลกากร แต่อนุญาตให้มีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตผ่านพรมแดนของประเทศสมาชิกได้ เช่น ปัจจัยทุน แรงงาน เทคโนโลยี

ระดับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในลักษณะเสรี (ต่อ) 4. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากจะมีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตผ่านพรมแดนของประเทศสมาชิกแล้ว โดยแต่ละประเทศสมาชิกมีนโยบายทางการเงินและการคลังรวมกัน นอกจากนี้ยังอาจมีการจัดตั้งหน่วยงานกลางขึ้นมาดูแลหรือควบคุมนโยบายที่ได้จัดตั้งรวมกัน เปรียบเสมือนเป็นประเทศเดียวกัน 5. สหภาพเหนือชาติ (Political Union) ประเทศสมาชิกนอกจากจะมีนโยบายทางเศรษฐกิจรวมกันแล้ว แต่ละประเทศสมาชิกมีวัตถุประสงค์รวมกันเป็นชาติเดียว

(World Trade Organization) การรวมกลุ่มระหว่างประเทศระดับพหุภาคี องค์การการค้าโลก WTO (World Trade Organization)

สภาพหลัง WW II

สภาพหลัง WW II

ประวัติความเป็นมาขององค์การการค้าโลก (WTO) ในปี ค.ศ. 1942 ฝ่ายพันธมิตรที่คาดว่าจะชนะสงคราม ใน WW II ได้ร่วมกัน “จัดทำข้อเสนอสำหรับ สหภาพพาณิชย์ระหว่างประเทศ” (A proposal for an International Commercial Union) โดยมี เจมส์ มีค เป็นผู้จัดทำ ในปี ค.ศ. 1945 ได้มีการจัดทำ “ข้อเสนอเพื่อการขยายการค้าโลกและการจ้างงาน” (A proposal for World Trade Expansion and Employment) และมีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN) ในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการจัดประชุมเพื่อจัดตั้งองค์การการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Organization: ITO) ที่กรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ (1) ข้อตกลงเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์การการค้าระหว่างประเทศ (2) ข้อตกลงพหุภาคีเพื่อการลดภาษีศุลกากร และ (3) ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากร

ประวัติความเป็นมาขององค์การการค้าโลก ในปี ค.ศ. 1948 ได้มีการประชุม “สหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการจ้างงาน” UN Conference Trade and Employment) ที่นครฮาวานา ประเทศคิวบา และได้มีการร่างความตกลงองค์การการค้าระหว่างประเทศ ขึ้น โดยรวมอยู่ในกฎบัตรฮาวานา (Havana Charter) รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ในขณะนั้นได้มีการใช้บทบัญญัติ “ข้อตกลงการตอบสนองทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 1934 (US Reciprocal Trade Agreement Act of 1934)” ซึ่งไม่ได้ให้อำนาจในการจัดตั้งองค์การการค้าระหว่างประเทศ สหรัฐจึงได้ลงนาม ครอบคลุมเฉพาะในประเด็นของข้อตกลงพหุภาคีเพื่อการลดภาษีศุลกากรและข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากร และประเทศต่างๆ ได้มีความเห็นชอบด้วย เป็นผลให้ระเบียบการค้าโลกดำเนินไปภายใต้ข้อตกลง “ ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (General Agreement on Tariffs and Trade: GATT) ”

ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (แกตต์) หน้าที่หลักของแกตต์ 1. การเป็นกฎระเบียบทางการค้าระหว่างประเทศ 2. การเป็นเวทีการค้าโลก และ 3. การเป็นเวทียุติข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศคู่กรณี ที่ผ่านมาในช่วงปี ค.ศ. 1947 – 1993 ได้จัดให้มีการเจรจาการค้าพหุภาคีเพื่อลดข้อจำกัดที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าทั้งสิ้น 8 รอบ โดยรอบที่ 8 จัดประชุมที่อุรุกกวัย แต่การเจรจาในรอบอุรุกกวัยนั้นใช้ระยะเวลาในการเจรจายาวนาน ทำให้ประเทศสมาชิกต่างๆ หันมาเจรจาในรูปแบบของทวิภาคี แทน

หลักการสำคัญขององค์การการค้าโลก 1. กำหนดให้ใช้มาตรการการค้าระหว่างประเทศโดยไม่เลือกปฏิบัติ 1.1 Most-Favored Nation Treatment : MFN 1.2 National Treatment 2. การกำหนดและบังคับใช้มาตรการทางการค้าจะต้องมีความโปร่งใส่ 3. คุ้มครองผู้ผลิตภายในประเทศด้วยภาษีศุลกากรเท่านั้น 4. ร่วมกันทำให้การค้าระหว่างประเทศมีเสถียรภาพและความมั่นคง 5. ส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าที่เป็นธรรม 6. มีสิทธิใช้ข้อยกเว้นในกรณีฉุกเฉินและจำเป็น

หลักการสำคัญขององค์การการค้าโลก (ต่อ) 7. ให้มีการรวมกลุ่มทางการค้าเพื่อลดภาษีระหว่างกันได้ หากมีวัตถุประสงค์ เพื่อขยายการค้า 8. มีกระบวนการยุติข้อพิพาททางการค้าให้คู่กรณี 9. ให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศกำลังพัฒนาในการปฏิบัติตามพันธกรณี

ความแตกต่างระหว่าง GATT และ WTO 1. แกตต์ เป็นเพียงความตกลงทางการค้าพหุภาคี (multilateral) ขณะที่ องค์การการค้าโลก มีสถานะเป็นนิติบุคคล 2. แกตต์ มีหน้าที่ควบคุมเฉพาะการค้าสินค้าเท่านั้น ขณะที่ องค์การการค้าโลก มีหน้าที่ดูแลกว้างกว่า คือยังครอบคลุมถึงการค้าบริการ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการค้าด้วย 3. แกตต์ มีการครอบคลุ่มความตกลงหลายฝ่ายฉบับต่างๆ แต่ไม่ได้บังคับให้ประเทศภาคีแกตต์ต้องเป็นสมาชิกทุกฉบับ ขณะที่ องค์การการค้าโลกจะครอบคลุมความตกลงอื่นๆ โดยทุกประเทศมีพันธกรณีต้องเป็นสมาชิกและปฏิบัติตามทุกความตกลง

ความแตกต่างระหว่าง GATT และ WTO 4. ระบบขององค์การการค้าโลกจะสามารถยุติข้อพิพาทได้เร็วกว่า ระบบของแกตต์ เนื่องจากได้มีการแก้ไขปรับปรุงระเบียบของแกตต์เดิม 5. องค์การการค้าโลกยกเลิกนโยบายปกป้องในเรื่องที่มีความละเอียดอ่อน เช่น ความตกลงจำกัดการส่งออกสิ่งทอ การปฏิรูปการค้าสินค้าเกษตร และการยกเลิกการจำกัดการส่งออกโดยความสมัครใจ 6. องค์การการค้าโลกมีสมาชิกครอบคลุมทั่วโลกมากกว่า แกตต์