ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ ในการดูแลผู้ป่วยแขนขาขาด พญ.ภูริชา ชัยวิรัช แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู รพ.น่าน
amputation รากศัพท์ : amputio การสูญเสียส่วนของร่างกาย ในกรณีนี้จะกล่าวถึง แขนขาขาด เป็นหลัก ผู้สูญเสียส่วนของร่างกาย : amputee
Multidisciplinary, team-based approach นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด ช่างกายอุปกรณ์ / นักกายอุปกรณ์ นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ป่วยและญาติ แพทย์ผู้รักษา พยาบาล
factors for recovery & independent living Causes Age Underlying disease Level of amputation Severity Pre-op care Intra-op Post-op care Stump Early & continuum rehab Motivation Facility Fitting prosthesis Complication
causes Congenital limb deficiency ร้อยละ 60 ของภาวะแขนขาขาดในเด็ก Amniotic band syndrome
causes Acquired Peripheral vascular disease : 60% + DM related , age range 60-75 y Trauma : 25% : 17-55 y Tumors : 5% : 10-20 y Wound infection: 10%
Level of amputation transfemoral transtibial
Stump length LE BK : กะความยาวโดยประมาณจากความสูงของผป. เช่น สูง 5ฟุต ตอขายาวประมาณ 5 นิ้ว AK: เหนือข้อเข่าประมาณ 3 นิ้ว –ใส่ข้อเข่าง่าย+ ขายาวเท่ากัน UE BE : ควรต่ำกว่าระดับ bicipital tuberosity ยิ่งเหลือ ยาวยิ่งดี เพื่อให้สามารถคว่ำและหงายมือได้ดี AE : เหนือศอกประมาณ 3 นิ้ว
Pre-op Mental support Exercise การดูแลรักษาข้างที่ยังปกติอยู่ Information Mental support Exercise การดูแลรักษาข้างที่ยังปกติอยู่ Level of amputation Procedure Goal Complication Prosthesis use
Post-op: preparing for prosthetic use Positioning ไม่อยู่ในท่างอของข้อที่เหลือ นอนคว่ำ 15 นาที 4 ครั้งต่อวัน
Post-op: preparing for prosthetic use Stump care Bulbous stump
Post-op: preparing for prosthetic use Stump care
Post-op: preparing for prosthetic use Massage Using one or two hands, massage your residual limb using a soft gentle kneading motion. Becareful when massaging over your sutured area. Massage the entire residual limb. After sutures are removed, you can increase the pressure to massage the deeper soft tissues and muscles in your residual limb. at least 5 minutes 3-4 times daily- more often in reducing phantom pain
Bandaging เพื่อ stump ยุบบวม+ ได้รูป AK: EB 6 ‘ BK: EB 4’ UE : EB 3’ AE & BK: cylindrical shape BE & AK: conical shape Figure of 8 พันเหนือข้อที่ถูกตัดขึ้นไปอีก 1 ข้อ พันทับกันประมาณ 2/3 ของผ้าเดิม กระชับปลายมากกว่าต้น พันตลอดวัน รวมนอน พันใหม่ทุก 4-6 ชม. คลายครั้งละไม่เกิน 20 นาที
Post-op Ambulation Desensitization ลดความไวของการรับความรู้สึกที่ผิวหนังปลายตอ และแผลผ่าตัด นวด stump เคาะปลายตอ ฝึกการลงน้ำหนักที่ปลายตอ ในกลุ่มตัดขา ช่วงแรกต้องฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน ก่อน เช่น ไม้ค้ำยัน หรือนั่งรถเข็นนั่ง เพื่อรอตอขาได้ รูปยุบบวม
exercises Cardiovascular ex ROME Strengthening ex Esp. Lower limb amputation Energy expenditure Aerobic exercise Maintain ROM เพื่อให้ สามารถใช้กายอุปกรณ์เทียมได้ เพื่อให้กล้ามเนื้อรอบตอแขน/ขา และรยางค์ อื่น มีความแข็งแรงเพียงพอ สำหรับ ADL & ambulation
exercises
Complications:ก่อนใส่กายอุปกรณ์เทียม แผลแยก / แผลติดเชื้อ Skin necrosis Stump edema Contracture Phantom limb pain
Time for fitting prosthesis สิ่งที่ต้องคำนึงถึง แผลหาย Mature Stump timing > 6-8 Wks post op ความต้องการที่แท้จริงของ ผป ระดับความสามารถ + ความร่วมมือ อายุ โรคประจำตัว สภาพร่างกาย ลักษณะตอแขน/ขา ข้างถนัด + อาชีพ เศรษฐฐานะ
Complications:ระหว่างการใช้อุปกรณ์เทียม Dermatologic problem Redundant soft tissue Choke syndrome: Verrucous hyperplasia Residual limb pain
Residual limb pain Extrinsic causes Non proper prosthesis Mal alignment Intrinsic causes Bone spur formation Terminal overgrowth : child-humerus Neuroma Osteomyelitis Persistent limb ischemia Fracture Recurrent tumor
Key to success Multidisciplinary team Good Pre-peri-post op care Proper prosthetic management Holistic approach Patient & caregiver compliance