โครงการ ส่งเสริมป้องกันโรค ในช่องปาก ตาม ชุดสิทธิประโยชน์ ทพญ.สุปราณี ดาโลดม 13 สิงหาคม 2551
ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ภาวะประชากรสูงอายุ
ร้อยละของประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2543 - 2563 50.9 50.7 48.6 17.3 16.0 16.8 15.2 13.5 13.5 11.6 9.4 10.7 8.9 9.4 7.4 ร้อยละของประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2543 - 2563 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2551)
อายุคาดเฉลี่ย 2519 2549 2563 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2551) 19.3ปี 17.6 ปี 19.3ปี 9.9 ปี 21.7 ปี 3.8ปี 2519 2549 2563 อายุคาดเฉลี่ย (สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2551)
สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพ และคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
สถานการณ์สุขภาพช่องปาก การสูญเสียฟัน - ร้อยละ 92 มีการสูญเสียฟัน - ร้อยละ 8.2 สูญเสียฟันทั้งปาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (survey 6 ร้อยละ 10.8) ฟันที่มี -ร้อยละ 96 มีฟันผุ - ร้อยละ 62 มีโรคปริทันต์** - ร้อยละ 20 รากฟันผุ มีโอกาสสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ร้อยละ 31 มีการแปรงฟันตอนเช้าและก่อนนอน Ref: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 5 พ.ศ.2543-2544
สัมพันธ์กับการเกิดโรคในช่องปากและการดูแลตนเอง สุขภาพ ครึ่งหนึ่งมีโรคเรื้อรัง ที่สำคัญ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต สมองเสื่อม โรคของระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกและข้อ สัมพันธ์กับการเกิดโรคในช่องปากและการดูแลตนเอง สาเหตุการตาย ความเสื่อมอื่น ๆ มะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง สายตาเลือนราง หูตึง ความจำ
สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด สุขภาพฟันสัมพันธ์กับความสุขและประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร รวมทั้งความมั่นใจในการเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม Ref: ศ.นพ.เทพ หิมะทองคำ . ปัญหาของผู้สูงอายุมีทั้งกายและใจ ในมหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค. 2550 พญ.สิรินธร ฉันศิริกาญจน. สุขภาพช่องปากกับสุขภาพร่างการในมหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค. 2550
สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต ความเจ็บปวด ไม่สบายจากฟันมีผลต่อการพักผ่อน นอนหลับ การทำงาน และการทำกิจกรรมตามปกติ การสูญเสียฟันและจำนวนฟันที่เหลือมีผลต่อการเคี้ยวอาหาร การเลือกชนิดอาหาร ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ ผู้สูงอายุที่มีปัญหาจากการเคี้ยวอาหารมีโอกาสเกิด underweight เป็น 3 เท่า ของผู้ที่ไม่มีปัญหา Ref: พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์. ทำไมต้องดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ในมหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค. 2550
บริการตามชุดสิทธิประโยชน์ ทางทันตกรรม สำหรับผู้สูงอายุ ด้านการรักษาและฟื้นฟูสภาพ ด้านการส่งเสริมป้องกัน ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การแนะนำด้านทันตสุขภาพ การให้ฟลูออไรด์เสริมในกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อรากฟันผุ การขูดหินน้ำลาย (Maintenance phase)
OTTAWA CHARTER FOR HEALTH PROMOTION Strengthen Community Action Develop personal skill Enable Mediate Advocate Create Supportive Environment Reorient Health Services
ทำอย่างไร ....... การเชื่อมต่อและพัฒนาระหว่างกิจกรรมและหน่วยงาน การตรวจสุขภาพช่องปาก และให้คำแนะนำ การดูแลสุขภาพ ช่องปากตนเอง โดยชมรมผู้สูงอายุ การจัดบริการส่งเสริมป้องกัน การรักษาและใส่ฟัน โดย ทันตบุคลากร ตรวจสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะควบคุมคราบจุลินทรีย์ ฟลูออไรด์ ขูดหินน้ำลายและขัดฟัน จากชมรมผู้สูงอายุ จากคลินิกสูงอายุจากคลินิกทันตกรรม อื่น ๆ -สร้างความเข้มแข็งให้ชมรม -ชมรมจัดกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ - ระบบการส่งต่อ ?? CUP/PCU สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนย์อนามัยเขต 12 แห่ง กรมอนามัย
บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคตามวัย 1,734 บริการก่อนคลอด ตรวจสุขภาพมารดา/ทารกในครรภ์ บำรุงสุขภาพมารดา/ทารก ตรวจคัดกรองความผิดปกติจากการตั้งครรภ์ ตรวจคัดกรอง/ป้องกันโรคติดต่อ ตรวจคัดกรองโรคทางพันธุกรรม 674 เด็ก 0-2 ปี ตรวจคัดกรองความผิดปกติของพัฒนาการ ภาวะโภชนาการ สุขภาพช่องปาก วัคซีนป้องกันโรค 425 วัย 60 ปี คัดกรองโรคเรื้อรัง มะเร็งปากมดลูก ทันตกรรม วางแผนครอบครัว 194 149 วัย 35-59 ปี คัดกรองโรคเรื้อรัง มะเร็งปากมดลูก ทันตกรรม วางแผนครอบครัว เด็ก 3-5 ปี โภชนาการ ทันตกรรม วัคซีน 88 86 51 เด็ก 6-12 ปี สุขลักษณะ โภชนาการ ทันตกรรม/วัคซีน วัย 25-34 ปี เจริญพันธ์ /วางแผนครอบครัว ทันตกรรม วัย13-24 ปี เจริญพันธ์ ทันตกรรม ในครรภ์ ทารก เด็กเล็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน วัยกลางคน สูงอายุ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคกลุ่มผู้สูงอายุ ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2551 วัตถุประสงค์ร่วม 1. พัฒนาระบบบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ - ระยะยาว (Long Term Care) - การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care) - บริการส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์ 2. พัฒนาบุคลากรและอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุ 3. สร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ชมรมผู้สูงอายุ องค์กรส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรพัฒนาเอกชน
กิจกรรมสำคัญ 1. การเสริมสร้างระบบบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน ปี 2551 2. การส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2551
การคัดกรองโรคเรื้อรัง การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน - ระยะยาว (Long Term Care) - การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care) เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม ทันตสุขภาพ
พื้นที่ดำเนินการ LTC 12 ศูนย์อนามัยเขตๆละ 1 จังหวัด (1 รพศ./รพท., 1 รพช.) จังหวัดนนทบุรี , จังหวัดสระบุรี , จังหวัดตราด , จังหวัดเพชรบุรี , จังหวัดนครราชสีมา , จังหวัดขอนแก่น , จังหวัดศรีสะเกษ , จังหวัดนครสวรรค์ , จังหวัดสุโขทัย , จังหวัดเชียงราย , จังหวัดสุราษฏร์ธานี , จังหวัดสตูล
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุ ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2551 วัตถุประสงค์เรา 1. พัฒนารูปแบบ/ ระบบบริการส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปาก ตามชุดสิทธิประโยชน์ 2. สร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ชมรมผู้สูงอายุ องค์กรส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรพัฒนาเอกชน 2551 : ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดบริการ
พื้นที่ดำเนินการทันตฯ ศูนย์อนามัยที่ 1 และ 11 20 จังหวัด รวม 120 หน่วยบริการ สระบุรี ปราจีนบุรี สมุทรปราการ ราชบุรี นครนายก นครปฐม สมุทรสาคร ชัยภูมิ บุรีรัมย์ ขอนแก่น หนองคาย ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ กำแพงเพชร เชียงใหม่ ลำปาง เชียงราย สุราษฎร์ธานี กระบี่ สตูล ตรัง งบประมาณ สปสช. : area base - บริการป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ - สนับสนุนชมรมผู้สูงอายุ
ความก้าวหน้าโครงการ
ส่วนกลาง : สนับสนุนการจัดบริการ VP จัดการประชุมและทำคู่มือการดำเนินงาน การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวันที่ 21-22 เมษายน สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ - แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ตามเป้าหมาย - ไหมขัดฟัน 60% ของเป้าหมาย - แปรงซอกฟัน 20% ของเป้าหมาย การพัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูป (รวมกับฟันเทียม) การนิเทศ ติดตาม (สุ่มภาคละ 1 จังหวัด) การประชุม ติดตาม และสรุปผล
พื้นที่ : พัฒนารูปแบบ/แนวทางดำเนินการทันตฯ ส่วนใหญ่เริ่มดำเนินการแล้ว เป้าหมายในการจัดบริการเพื่อผู้สูงอายุต่างกัน ในแต่ละจังหวัด / บุคคล รูปแบบ/ระบบไม่เหมือนกัน : ตามความเป็นไปได้ของจังหวัด การบริหารจัดการ การเชื่อมโยงระบบ หน่วยบริการบางแห่งเป็น PCU บางแห่งเป็น รพช. : รพศ.?? ผู้ปฏิบัติส่วนหนึ่งมีการดำเนินงานตาม output แต่ยังไม่ได้คิดถึง outcome แหล่งงบประมาณต่างกัน
การประชุมวันนี้ : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. นำเสนอตัวอย่างการดำเนินงานที่ผ่านมา 2. เล่าเรื่องการดำเนินงานที่เริ่มทำแล้ว ของแต่ละหน่วยบริการ/จังหวัด + ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3. การดำเนินงานต่อเนื่องในปี 2552 : เพื่อเตรียมการสนับสนุน
ความต่อเนื่องในปี 2552
การสนับสนุนโครงการ PP 52 งบฯ บริการในชุดสิทธิประโยชน์ UC - อยู่ใน express demand 2. งบฯ ภาคประชาชน (ชมรมผู้สูงอายุ) ใน Community based 3. งบฯ สนับสนุนส่วนกลาง : National program 4. Model Development ควรสิ้นสุดและเข้าสู่ระบบปกติใน 3 ปี
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตาม PP 52 พัฒนาและปรับแนวทาง/คู่มือการดำเนินงาน ขยายพื้นที่ - จังหวัดเดิม : ทั้งอำเภอ/ทั้งจังหวัด - เพิ่มจังหวัดที่สนใจ 3. เตรียมการประเมินผลโครงการในภาพรวม ปี 2553 4. พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
ขอขอบคุณทุกท่านที่ร่วมกันพัฒนางาน