คณะทำงานสาขามารดาและ ทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 12 (MCH Board) 26 เมษายน 2560 นพ.เจ๊ะอิดเร๊ะ ดือเระ ประธานพัฒนาระบบบริการกลุ่มวัยสตรีและเด็กปฐมวัย ประธานคณะทำงานสาขามารดาและทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 12
MCH Board เขต 12 -การคลอดคุณภาพ -ลดอัตราตายของมารดา ปฐมภูมิ SPสูติกรรม กลุ่มวัยสตรีและเด็ก SPสูติกรรม SPทารกแรกเกิด -คัดกรองความเสี่ยงหญิง ตั้งครรภ์ -ภาวะซีด(ครั้งแรก ) -การคัดกรองมารดาเสี่ยงทางอายุกรรม (HT, DM, โรคหัวใจ) -คัดกรองเด็กที่พัฒนาการ ล่าช้า เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง Folic acid ในวัยเจริญพันธุ์ - ANC คุณภาพ -ฝากครรภ์ก่อน <12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ 5 ครั้ง ตาม เกณฑ์ ได้รัยยาเสริมไอโอดีน - คัดกรองพัฒนาการติด ตามกระตุ้นสงสัยล่าช้า -เฝ้าระวังส่งเสริมภาวะ โภชนาการ - WCCคุณภาพ -การคลอดคุณภาพ -ลดอัตราตายของมารดา - ใช้ถุงตวงเลือด - มีเลือดสำรอง - ลดการตายจากก PPH - ลดการตายจาก PIH - ระบบบริการในเครือข่ายและ ส่งต่อ - ลดการตายทารก - NICU ที่เพียงพอ
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ปีงบประมาณ ผลงาน 2557 68.8 2558 66.9 2559 71.04 2560 71.91 72.72 76.37 65.07 70.03 71.31 65.03 น้อยกว่า ร้อยละ 45 -55 น้อยกว่า ร้อยละ 55 -60 มากกว่า ร้อยละ 60 74.03 ที่มา : รายงานHDC ปี 60 ณ วันที่ 31 มีนาคม 60
ที่มา : รายงานHDC ปี 60 ณ วันที่ 31 มีนาคม 60 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ปีงบประมาณ ผลงาน 2557 52.7 2558 61.3 2559 61.28 2560 58.85 63.66 66.53 65.07 52.63 52.32 43.65 น้อยกว่า ร้อยละ 30-45 น้อยกว่า ร้อยละ 46-60 มากกว่า ร้อยละ 60 58.81 ที่มา : รายงานHDC ปี 60 ณ วันที่ 31 มีนาคม 60
ที่มา : รายงานHDC ปี 60 ณ วันที่ 31 มีนาคม 60 ร้อยละ ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ในการฝากครรภ์ครั้งแรก ไม่เกินร้อยละ 18 นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ปีงบประมาณ ผลงาน 2557 18.07 2558 16.89 2559 17.33 2560 16.5 12.42 12.06 22.15 13.94 20.48 10.27 15.2 มากกว่า ร้อยละ 20-25 อยู่ระหว่าง ร้อยละ 19-20 ไม่เกิน ร้อยละ 18 ที่มา : รายงานHDC ปี 60 ณ วันที่ 31 มีนาคม 60
ยะลา สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ร้อยละการตั้งครรภ์ ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ปีงบประมาณ ผลงาน 2557 23 2558 16.75 2559 14.81 2560 20.17 17.65 18.03 22.40 19.55 20.75 19.10 มากกว่า ร้อยละ 20 ระหว่าง ร้อยละ 16 - 20 ระหว่าง ร้อยละ 11 - 15 ไม่เกิน ร้อยละ 10 20.57 ที่มา : รายงานHDC ปี 60 ณ วันที่ 31 มีนาคม 60
อัตราการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ปีงบประมาณ ผลงาน 2557 78.41 2558 80.76 2559 72.36 2560 54.51 54.08 59.44 61.13 54.35 50.2 47.71 55.73 น้อยกว่า ร้อยละ 65 มากกว่า ร้อยละ 65-75 มากกว่า ร้อยละ 75- 85 แหล่งข้อมูล : ปี 59จาก HDC ณ วันที่ 31มีนาคม 60
อัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน 20 ต่อ แสนการเกิดมีชีพ ปี 60 อัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน 20 ต่อ แสนการเกิดมีชีพ ปี 60 ปีงบประมาณ ผลงาน 2556 38.47 2557 38.76 2558 42.82 2559 45.26 2560 49.97 นราธิวาส 2 ราย อ. สุไหปาดี อ.จะแนะ ยะลา 2 ราย อ.กรงปินัง อ.เมือง ปัตตานี 2 ราย อ.ยะหริ่ง อ.สายบุรี สงขลา 3 ราย อ.สะบ้าย้อย อ.นาทวี 2 ราย ตรัง3 ราย อกันตัง พัทลุง 2 ราย อ.ป่าพะยอม อ.บางแก้ว สตูล 1 ราย อ.มะนัง 39.90 95.35 32.64 35.05 65.40 แหล่งข้อมูลอัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน ต่อ แสนการเกิดมีชีพ ปี 2556 – 2559 : ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 ปี 2560 :HDC ณ วันที่ 31 มีนาคม 60 เวลา 20.00 น ตาย 15 ราย มากกว่า 45 : แสนการเกิดมีชีพ 31 - 45 : แสนการเกิดมีชีพ 21 - 30 : แสนการเกิดมีชีพ ไม่เกิน20 : แสนการเกิดมีชีพ 42.81 38.15 แหล่งข้อมูล : ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ปี 60 จาก HDC ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560
จำนวนการตายของมารดา จังหวัด งบฯ 56 งบฯ 57 งบฯ 58 งบฯ 59 งบฯ 60 ยะลา 5 2 6 4 ปัตตานี 8 นราธิวาส 14 สงขลา 3 สตูล 1 - พัทลุง ตรัง รวม 28 30 15 หมายเหตุ : รายงานการตายตามภูมิลำเนาของผู้ตาย รายงาน ณ 30 มีค. 60
สาเหตุการตายมารดา ปี 60 Direct cause สาเหตุมารดาตาย ปี 60 ถึง 30 มีนาคม 60 ทางตรง 10 ราย , ทางอ้อม 5 ราย รวม 15 ราย เป็นสาเหตุทางตรง (Direct cause ) จำนวน 10 ราย จาก PPH 3 ราย ร้อยละ 20.00 , Amniotic Embolism 3 ราย ร้อยละ 20.00 , PIH 1 ราย ร้อยละ 6.66 , Hellp Sydrome 1 ราย 6.66 และจาก Criminal Abortion ร้อยละ 6.66 , Morlar preg 1 ราย ร้อยละ 6.66 ส่วนสาเหตุทางอ้อม (Indirect cause ) จำนวน 5 ราย ร้อยละ 33.33 จาก , Pneumonia , HIV ,Ca colon , Brain tumor ,Sepsis Direct cause
สาเหตุการตายของมารดาปี ๒๕๖๐ Direct Cause ๑๐ cases (๖๖.๖๖) Preventable Hemorrhage 3 cases Embolism 3 Case PPHCDIC 1 case Embolism 2 cases PPH( uterine Atony) 2 cases Post partum Embolism 1 cases Others 1 cases High BP 2 cases Criminal Abortion 1 case Morlar preg 1 case Severe pre-eclampsia1cases Hellp Sydrome 1 case ทางตรง 17 ราย , ทางอ้อม 13 ราย รวม 30 ราย เป็นสาเหตุทางตรง (Direct cause ) จำนวน 17 ราย จาก PPH ร้อยละ 16.66 , Amniotic Embolism ร้อยละ13.33 PPH c PIH ร้อยละ 6.66,และ PIH ร้อยละ 6.66 และจาก Abortion ร้อยละ 10 และSepsis Shock ( เศษรกค้าง ) ร้อยละ 3.3 ส่วนสาเหตุทางอ้อม (Indirect cause ) จำนวน 13 ราย จาก Heart ร้อยละ 3.33 , Pneumonia ร้อยละ 13.33 และSepsis Shock ร้อยละ 6.66 อื่น ๆ ( AIHA , Malaria, Hyperthyroid , HIV .Unknown cause 2 ราย) ร้อยละ 20.00
ศักยภาพด้าน MCH รพ.ระดับ M2 เขต 12 จังหวัด ตรัง รพ.ห้วยยอด สงขลา รพ.นาทวี ปัตตานี รพ.สายบุรี สูตินรีแพทย์ 2 1 กุมารแพทย์ - วิสัญญีแพทย์ วิสัญญีพยาบาล 4 5 Blood Bank
ประเด็นปัญหาจากการวิเคราะห์สาเหตุการตาย Delay Refer การปฏิเสธการส่งต่อ ระบบยังรองรับไม่เต็มที่ ขาดที่ปรึกษา/ พี่เลี้ยง Delay Detection ขาดทักษะในการประเมินภาวะเสี่ยง ANC LR - Under Estimate blood loss - Delay Dx - Delay Rx ประเด็นปัญหาจากการวิเคราะห์สาเหตุการตาย Delay Decision (หญิงตั้งครรภ์และสามี) ขาดความรู้ ความเข้าใจในภาวะเสี่ยง ขาดการวางแผนครอบครัว( BS ) โดยเฉพาะใน 4 จชต. เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ ยาที่จำเป็น เช่น cytotec เลือดสำรอง ถุงตวงเลือด
3 มาตาการ ลดแม่ตาย ผู้บริหารต้องรับทราบ Case ที่มีภาวะเสี่ยง (รพท.,รพช.,รพสต.) ต้องตรวจจริง ทำจริง มีองค์ความรู้ ต้องปฏิบัติตามแนวทาง
แผนปฏิบัติการแก้ปัญหา / Action plan
กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา ๑. การประชุมคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็กระดับเขต ๑๒ คณะกรรมการอนามัยแม่และเด็กเขต ๑๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๖๐ ๒.พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการประเมินภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ พยาบาลประจำรพศ./รพท./รพช.รพสต.งานฝากครรภ์และห้องคลอด ๓๙๐ คน วันที่ ๒๕-๒๖ พฤษภาคม ๖๐ ๓.พัฒนาระบบบริการและเยี่ยมเสริมพลังด้านอนามัยแม่และเด็กในเขตสุขภาพที่๑๒ รพช.๗ จังหวัด ผู้เข้าร่วมประชุม จังหวัดละ ๖๐ คน รวม ๔๙๐ คน วันที่ ๒๒-๓๐พฤษภาคม๖๐- ๑ มิถุนายน ๖๐ ๔.พัฒนาศักยภาพทีมประเมินมาตร ฐานอนามัยแม่และเด็ก ระดับจังหวัด ในเขตสุขภาพที่ ๑๒ ทีมประเมินอนามัยแม่และเด็กระดับจังหวัด ๗๐ คน วันที่ ๖-๗ กรกฎาคม ๖๐
แผนEmpowerment (เยี่ยมเสริมพลัง ๗ จังหวัด ) ลำดับ จังหวัด ระยะเวลา ๑ สงขลา ๒๒ พ.ค. ๖๐ ๒ ปัตตานี ๒๓ พ.ค.๖๐ ๓ นราธิวาส ๒๔ พ.ค. ๖๐ ๔ ตรัง ๒๙ พ.ค. ๖๐ ๕ พัทลุง ๓๐ พ.ค.๖๐ ๖ สตูล ๓๑ พ.ค.๖๐ ๗ ยะลา ๑ มิ.ย.๖๐
เด็กปฐมวัย 18
อัตราทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จำแนกรายจังหวัดเขต 12 ปี 2556-2560(มีนาคม) (เป้าหมาย < ร้อยละ 7) ปี 57-59 :สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขต 12, ปี 2560 : HDC 31 มีนาคม 2560
อัตราภาวะขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด จำแนกรายจังหวัดเขต 12 ปี 2556-2560 (เป้าหมาย < 25: 1,000) ปี 57-59 :สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขต 12 ปี2560 ไม่เป็นช่วงเวลาเดียวกัน กพ. และ มีค.
สงสัยล่าช้ามากกว่าร้อยละ 20 ร้อยละ 10.1 – 20.0 % ไม่เกินร้อยละ 10 ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กเขต 12 พบสงสัยล่าช้า จำแนกรายจังหวัด (ตุลาคม 2559- กุมภาพันธ์ 60) จังหวัด ตรวจ พบสงสัยล่าช้า สงขลา 90.78 21.87 สตูล 98.81 20.82 ตรัง 98.89 18.15 พัทลุง 98.76 26.88 ปัตตานี 93.59 12.81 ยะลา 94.86 22.35 นราธิวาส 78.43 11.12 เขต 12 91.77 18.68 ประเทศ 77.69 13.82 นราธิวาส 11.12 % ยะลา 22.35 % ปัตตานี 12.81 % สงขลา 21.87 % ตรัง 18.15 % พัทลุง 26.88 % สตูล 20.82% สงสัยล่าช้ามากกว่าร้อยละ 20 ร้อยละ 10.1 – 20.0 % ไม่เกินร้อยละ 10 แหล่งข้อมูล HDC 23 เมษายน 2560
ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กเขต 12 ติดตามเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำแนกรายจังหวัด (ตุลาคม 2559- กุมภาพันธ์ 60) จังหวัด ติดตามได้ พบล่าช้าหลังติดตาม สงขลา 91.24 2.29 สตูล 94.67 1.33 ตรัง 97.96 1.01 พัทลุง 95.34 4.19 ปัตตานี 78.47 1.96 ยะลา 94.43 1.67 นราธิวาส 52.81 4.97 เขต 12 88.36 2.33 ประเทศ 70.57 2.21 นราธิวาส 52.81% ยะลา 94.43 % ปัตตานี 78.47 % สงขลา 91.24% ตรัง 97.96 % พัทลุง 95.34 % สตูล 94.67 % ติดตามได้ 90.1-100 % ติดตามได้ 70-90 % ติดตามได้ ต่ำกว่า 70 % แหล่งข้อมูล HDC 23 เมษายน 2560
ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กเขต 12 พัฒนาการสมวัยทั้งสิ้น จำแนกรายจังหวัด (ตุลาคม 2559- เมษายน2560) นราธิวาส 94.32% ยะลา 98.15 % ปัตตานี 96.94 % สงขลา 97.48 % ตรัง 99.19 % พัทลุง 97.47 % สตูล 98.48 % จังหวัด พัฒนาการสมวัย สงขลา 97.48 สตูล 98.48 ตรัง 99.19 พัทลุง 97.47 ปัตตานี 96.94 ยะลา 98.15 นราธิวาส 94.32 เขต 12 97.27 ประเทศ 95.50 พัฒนาการมากกว่าร้อบละ 90 ร้อยละ80-90 ต่ำกว่าร้อยละ 80 แหล่งข้อมูล HDC 23 เมษายน 2560
สถานการณ์การเจริญเติบโต (สูงดีสมส่วน) ของเด็ก 0-5 ปี จำแนกรายจังหวัดเขต 12 ปี งวดที่ 2/2560 ร้อยละ เขต 12 48.29 ประเทศ 50.08 นราธิวาส 48.00% ยะลา 58.45 % ปัตตานี 44.28% สงขลา 46.88% ตรัง 46.89% พัทลุง 47.93% สตูล 46.13% เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ต่ำกว่า 45 % 45 – 50 % มากกว่าหรือเท่ากับ 51% แหล่งข้อมูล HDC 23 เมษายน 2560
สถานการณ์การเจริญเติบโต (ทุพโภชนาการ) ของเด็ก 0-5 ปี จำแนกรายจังหวัดเขต 12 ปี งวดที่ 2/2560 แหล่งข้อมูล HDC 23 เมษายน 2560
อัตราฟันผุในกลุ่มอายุ 3 ปี จำแนกรายจังหวัด พื้นที่เขต 12 ปี 2559 ร้อยละ เขต 12 54.6 ประเทศ 51.5 นราธิวาส 69.2% ยะลา 53.3% ปัตตานี 50.6% สงขลา 52.7% ตรัง 42.6% พัทลุง 54.4% สตูล 66.8% เป้าหมายต่ำกว่าร้อยละ 48 มากกว่า 60 % 48 – 60 % น้อยกว่า 48 % ที่มา : การสำรวจสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด ปี2558 - 2559
ฟื้นฟูความรู้ จัดทำแผนแก้ปัญหา และเร่งรัดการดำเนินงานเฝ้าระวัง แผนดำเนินการ ฟื้นฟูความรู้ จัดทำแผนแก้ปัญหา และเร่งรัดการดำเนินงานเฝ้าระวัง การเจริญเติบโต 0-5 ปี การเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กกลุ่ม Toxic Stress วางแผนการจัดให้มี เจ้าหน้าที่ติดตามเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและ พัฒนาการล่าช้าเป็นราย Case (Child Delay Manager ) การประชุมคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก สาขาพัฒนาการ เด็กปฐมวัยเขต 12 (1 พค.60) (ผู้ปกครองไม่ได้พาเด็กไปรับการกระตุ้นพัฒนาการ/รักษาอย่างต่อเนื่อง และ ผู้รับผิดชอบงานในระดับพื้นที่ไม่ทราบว่า พ่อแม่พาเด็กไปรับการรักษาตามที่ได้ส่งต่อ และไปต่อเนื่องหรือไม่ ตลอดจน ปัจจุบันเด็กมีพัฒนาการเป็นอย่างไร) ให้ไป รับกระตุ้น/ รักษาให้ต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบว่าเด็กคนนั้น ๆ อยู่ในสถานะใด (พัฒนาระบบการติดตามเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและล่าช้า)
ขอบคุณครับ