ส่วนประกอบหลักของการทำความเย็น ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1

Slides:



Advertisements
Similar presentations
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Advertisements

Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
ระบบทำความเย็นโดยใช้พลังงานความร้อนจากรังสีอาทิตย์
CONTROL VALVE LEAKAGE TEST INSPECTION
หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1
ขนาดเชิงมุม h q1 S1 q2 q2 > q1 S2 < S1
การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 6 การส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศและ
กระบวนการผลิตวัสดุเทอร์โมพลาสติก
Combined Cycle Power Plant
Agenda: MDR DVR Series Remote Surveillance IVS DVR Series
การติดตั้งสายอากาศโทรทัศน์
ระบบเครื่องปรับอากาศ
Air Pollution สืบค้นจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ VTLS โดยใช้หัวเรื่องดังนี้ Air – Pollution Air – Analysis Air – Purification Air quality.
RAMP Plus.
COP การนำส่งสิ่งส่งตรวจ Microbilirubin
copyright All Rights Reserved 1 Mr. Pattanarin Chantarat. Reading Ad. Reading Ad. Foreign language learning Department. Donsaingampittayakom.
Fiber Optic Fiber 2014 – 2015 By Paruj.
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
บทที่2 แผนภาพ กระบวนการผลิต (Piping & Instrument Diagrams: P&ID)
AIR SUSPENSION SYSTEM.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม
Effect of superheating the Suction Vapor.
จัดทำโดย นาย ไกรสร วันดี ม.5/1 เลขที่ 11 นาย ชญานิน ป้องทอง ม.5/1 เลขที่ 11 นาย วรุตน์ นิที ม.5/1 เลขที่ 11 นาย ธนวัฒน์ สุจาโน ม.5/1 เลขที่ 11 นาย ธีระพงษ์
การใช้การเรียนแบบมุ่งปฏิบัติงาน เพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการพูด และการ เขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง นายสุชาติ กองกูล วิทยาลัยเทคโนโลยี
Cold Energy Integration between GSP #3 and DPCU
การตรวจหาเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส ในกลุ่มเกษตรกร โดยใช้กระดาษทดสอบพิเศษ
ที่ว่างเพื่อการปฏิบัติงาน
หลักการผลิต ระบบส่งจ่าย และ ระบบจำหน่าย
ปั๊มลม FIAC โดย ธนวัฒน์ ก้านบัว.
กล้องจุลทรรศน์.
Water and Water Activity I
Gas Turbine Power Plant
สื่อประเภทเครื่องฉาย
โดย…ศรีอัมพร หนูกลับ นักวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา
(Introduction to Soil Science)
การหาประสิทธิภาพระบบ เครื่องทำความเย็น (Chiller)
หลักการตรวจประเมินคุณภาพอากาศ ภายในอาคาร (Indoor Air Quality)
การผลิตไอน้ำ Steam generation.
การใช้งานและบำรุงรักษา
งานไฟฟ้า Electricity.
น้ำในดิน (Soil Water).
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
กิจกรรมการพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
หลักการทำงานของเครื่องยนต์
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
หลักการของเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ
หม้อไอน้ำ (Boilers).
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน
การพัฒนาการจัดการ และมาตรฐานการบริการ
บทที่ 3 สายเคเบิลเส้นใยแก้ว
ระบบทำความเย็น.
ระบบไอดีไอเสียรถยนต์
ครูปฏิการ นาครอด.
ระบบนิวแมติกส์.
บทนำระบบนิวแมติกส์ จัดทำโดยนายนภดล ชัยนราทิพย์พร
บทนำระบบนิวแมติกส์.
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
วิลเลียม ฮาร์วีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่ค้นพบหมุนเวียนของเลือด ซึ่งมีการไหลเวียนไปทางเดียวกัน.
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
หลักการตลาด Principles of Marketing
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
วัฏจักรของเซลล์ และการแบ่งเซลล์ นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
Presentation transcript:

ส่วนประกอบหลักของการทำความเย็น ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1 ส่วนประกอบหลักของการทำความเย็น ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ของแอร์ ทำหน้าที่ขับเคลื่อนสารทำ ความเย็นหรือน้ำยา ในระบบ โดยทำให้สารทำความเย็นมีอุณหภูมิ และความดันสูงขึ้น

2. คอยล์ร้อน (Condenser) ทำหน้าที่ระบายความร้อนของสารทำความเย็น 3. คอยล์เย็น (Evaporator) ทำหน้าที่ดูดซับความร้อนภายในห้องมาสู่สารทำความเย็น 4. อุปกรณ์ลดความดัน ทำหน้าที่ลดความดันและอุณหภูมิของสาร ทำความเย็น โดยทั่วไปจะใช้เป็น แค็ปพิลลารี่ทิ้วบ์ (Capillary tube) หรือ เอ็กสแปนชั่นวาล์ว (Expansion Valve)

ลักษณะของคอนเดนเซอร์ 2. คอยล์ร้อน (Condenser) ทำหน้าที่ระบายความร้อน ของสารทำความเย็น ลักษณะของคอนเดนเซอร์

สถานะของสารทำความเย็นในคอนเดนเซอร์

ลักษณะของตัวอิแวปปอเรเตอร์ 3. คอยล์เย็น (Evaporator) ทำหน้าที่ดูดซับความร้อนภายในห้องมาสู่สารทำความเย็น ลักษณะของตัวอิแวปปอเรเตอร์

สถานะสารทำความเย็นในอิแวปปอเรเตอร์

ลักษณะของท่อแคปพิลารี่ 4. อุปกรณ์ลดความดัน ทำหน้าที่ลดความดันและอุณหภูมิของสารทำความเย็น โดยทั่วไปจะใช้เป็น แค็ปพิลลารี่ทิ้วบ์ (Capillary tube) หรือ เอ็กสแปนชั่นวาล์ว (Expansion Valve) ลักษณะของท่อแคปพิลารี่

ระบบการทำความเย็นที่เรากำลังกล่าวถึงคือระบบอัดไอ (Vapor-Compression Cycle) ซึ่งมีหลักการทำงานง่ายๆคือ การทำให้สารทำความเย็น (น้ำยา) ไหลวนไปตามระบบ โดยผ่านส่วนประกอบหลักทั้ง 4 อย่างต่อเนื่องเป็น วัฏจักรการทำความเย็น (Refrigeration Cycle) โดยมีกระบวนการดังนี้

  1) เริ่มต้นโดยคอมเพรสเซอร์ทำหน้าที่ดูดและอัดสารทำความเย็นเพื่อเพิ่มความดันและอุณหภูมิของน้ำยา แล้วส่งต่อเข้าคอยล์ร้อน 2) น้ำยาจะไหลวนผ่านแผงคอยล์ร้อนโดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยระบายความร้อน ทำให้น้ำยาจะที่ออกจากคอยล์ร้อนมีอุณหภูมิลดลง (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งต่อให้อุปกรณ์ลดความดัน 3) น้ำยาที่ไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดันจะมีความดันและอุณหภูมิที่ต่ำมาก แล้วไหลเข้าสู่คอยล์เย็น (หรือที่นิยมเรียกกันว่า การฉีดน้ำยา) 4) จากนั้นน้ำยาจะไหลวนผ่านแผงคอยล์เย็นโดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยดูดซับความร้อนจากภายในห้อง เพื่อทำให้อุณหภูมิห้องลดลง ซึ่งทำให้น้ำยาที่ออกจากคอยล์เย็นมีอุณหภูมิที่สูงขึ้น (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งกลับเข้าคอมเพรสเซอร์เพื่อทำการหมุนเวียนน้ำยาต่อไป

หลังจากที่เรารู้การทำงานของวัฏจักรการทำความเย็นแล้วก็พอจะสรุปง่ายๆได้ดังนี้ 1) สารทำความเย็นหรือน้ำยา ทำหน้าที่เป็นตัวกลางดูดเอาความร้อนภายในห้อง (Indoor) ออกมานอกห้อง (Outdoor) จากนั้นน้ำยาจะถูกทำให้เย็นอีกครั้งแล้วส่งกลับเข้าห้องเพื่อดูดซับความร้อนอีก โดยกระบวนการนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดการทำงานของคอมเพรสเซอร์ 2) คอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ชนิดเดียวในระบบที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนน้ำยาผ่านส่วนประกอบหลัก คือคอยล์ร้อน อุปกรณ์ลดความดัน และคอยล์เย็น โดยจะเริ่มทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องสูงเกินอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ และจะหยุดทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องต่ำกว่าอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ดังนั้นคอมเพรสเซอร์จะเริ่ม และหยุดทำงานอยู่ตลอดเวลาเป็นระยะๆ เพื่อรักษาอุณหภูมิห้องให้สม่ำเสมอตามที่เราต้องการ

วงจรการทำความเย็น

วงจรการทำความเย็นระบบปิด