การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รองศาสตราจารย์ ชัยยศ สันติวงษ์
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การเตรียมพร้อมทรัพยากรมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
Health Promotion & Environmental Health
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
Advanced Topics on Total Quality Management
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รร.มุกดารา เขาหลัก พังงา
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (FL)
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
ดีมาก Plus ดีมาก ดี พื้นฐาน
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  Knowledge Management Tools   วัตถุประสงค์ (เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนแล้ว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Q09: CQI Steps การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ForChange การบริหารคุณภาพ กระบวนงานคุณภาพ ผลลัพธ์มาตรฐาน PMQA SOP EHSS Public Sector Management Quality Award PMQA หมายถึง รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA ย่อมาจาก Public Sector Management Quality Award โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย Environmental Health Service Standard A นายชัยเลิศ กิ่งแก้วเจริญชัย สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 B I สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Environmental Health Accreditation คืออะไร Q09: CQI Steps Environmental Health Accreditation คืออะไร คือ การรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นกลไกกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเป็น ระบบทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการ ประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยความหมาย hospital accreditation คือกลไกกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และพัฒนาทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบเกิดจากการมีเป้าหมายร่วมกัน การพัฒนาคน การวิเคราะห์งานทั้งหมด การนำกิจกรรมคุณภาพที่เหมาะสมเข้ามาปฏิบัติ การพัฒนาทั้งองค์กรมีความจำเป็นเนื่องจากงานแต่ละส่วนล้วนพึ่งพิงการทำงานซึ่งกันและกัน การแยกส่วนพัฒนาจึงไม่สามารถบรรลุจุดสูงสุดที่เราต้องการ การเรียนรู้ขององค์กรเกิดจากการประเมินตนเอง การลงมือทำด้วยตนเอง การเรียนรู้แลกเปลี่ยนกับที่ปรึกษา/โรงพยาบาลอื่น และการได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ประเมิน การรับรองเป็นเพียงส่วนเล็กๆ เดียวในขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการทั้งหมด ซึ่งควรมองว่าเป็นผลพลอยได้ของการทำงานหนัก มากกว่าที่จะเป็นเป้าหมายของการพัฒนา เป้าหมายของการพัฒนาที่แท้จริงน่าจะอยู่ที่คุณภาพบริการซึ่งผู้ป่วยจะได้รับ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

What is “Value” ? What is "Wast”. TQM Total Quality Management TQM: ประกันว่า...ทุกร้านในท้องถิ่นสะอาดปลอดภัย” TQM: Total Quality Management QA: Quality Assurance QC: Quality Control Inspection Inspection QC QA Quality assurance TQM Total Quality Management รับรองว่า...ในท้องถิ่นสะอาดปลอดภัย” What is "Wast”.

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Value Chain) 5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรEHTC 2. การวางแผน ยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์การดำเนิน การอนามัย สิ่งแวดล้อม 1. อสธจ./นโยบาย 6. EHA 3. พื้นที่เสี่ยง /เขตเศรษฐกิจพิเศษ AREA BASE มาตรฐานระบบงานอนามัยสิ่งแวดล้อม SOP ตามหลักกฎหมาย/วิชาการ/การบริหาร 4. การเฝ้าระวัง ประเมิน ฐานข้อมูล

MOU What ???? ...... EHA คืออะไร ??? เป็นมาอย่างไร ??? PMQA PMQA SOP คืออะไร ??? เป็นมาอย่างไร ??? MOU กรม อ. กรม คพ. สถ. EHA Standard Core Team/LPA LQM SOP PMQA PMQA

กรมอนามัย กรมควบคุมมลพิษ บันทึกความร่วมมือ (MOU) เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ ระหว่าง กรมอนามัย กรมควบคุมมลพิษ และ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

OFI แนวทางและขั้นตอนการประเมินตามระบบEHA สสจ./สสอ. อสธจ. สมัคร รายงานผลการประเมิน . วิชาชีพ . มาตรฐาน คะแนน Core Team สสจ./สสอ. กรมอนามัย กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น อสธจ. เลขาฯ หน่วยรับรอง คณะอนุกรรมการ มาตรฐาน Core Team รายงาน ผลการ ประเมิน และเสนอ ใบรับรอง นโยบาย/ข้อเสนอ กำกับดูแล/ประเมินฯ ผู้ประเมิน ผู้บริหาร อปท. ผู้ให้คำปรึกษา (ที่ปรึกษา) หน่วยตรวจประเมิน (กรมอนามัย/ศอ.1-13) 2 ประเมิน Screen/กรอง 1 สมัคร ประเมินภายใน ประเมิน EHA แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ (คณะกรรมการด้าน ENV) ผ่านใบรับรอง (Certification) ทบทวนเอกสาร 3 คณะทำงาน Internal Audit. ประเมินตนเอง (Corrective Action Request) /ข้อเสนอฯ ปรับปรุง เริ่มพัฒนาระบบ EHA OFI PDCA ไม่ผ่านใบรับรอง แผนพัฒนา กำหนดนโยบาย จัดลำดับ พัฒนาศักยภาพฯ แนวทางและขั้นตอนการประเมินตามระบบEHA

สามขั้นสู่ EHA การประเมินภายใน โดย องค์กรทบทวนสถานการณ์ปัญหา/ผลงาน เน้นการพัฒนา หาโอกาส ปรับกระบวนการภายใน การประเมินระดับต้น(จากภายนอก สสจ. สสอ.) เน้นการพัฒนา ให้คำแนะนำ ปรับฐานและพัฒนากระบวนงานให้เป็นมาตรฐาน การประเมินรับรอง(โดย ส่วนกลาง /ศูนย์อนามัย) เน้นการดำเนินงานที่เป็นมาตรฐาน สู่การยกย่องเชิดชู

บทบาทและกิจกรรม EHA วัตถุประสงค์เพื่อดูแลคุ้มครองสุขภาพประชาชนด้วยการบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีมาตรฐาน ซึ่งเป็นอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล) ในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามพ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2545 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไข พ.ศ.2550 ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ./สสอ. อปท. สิ่งสนับสนุน 1. พัฒนาหลักสูตร : ผู้ประเมิน ผู้ให้คำปรึกษาและผู้ปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. อบรมให้จนท.ส่วนกลางและ ศูนย์อนามัยเป็นผู้ประเมิน 3. จัดทำเอกสารคู่มือ EHA 4. สุ่มประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. 5. จัดทำระบบฐานข้อมูลของ EHA 6. จัดการประชุม EHA Forum 7. สนับสนุนการจัดทำสรุปบทเรียน EHA 1. อบรมหลักสูตรผู้ให้คำปรึกษาให้สสจ.และสสอ. 2. ร่วมกับสสจ.ประเมินรับรองฯอปท. 3. คัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับเกียรติบัตร 4.ให้คำปรึกษาและสนับสนุนสสจ.และสสอ. 5. จัดทำสรุปบทเรียน EHA 1. ให้คำปรึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. ให้ความรู้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 ประเมินรับรองฯ อปท.ระดับพื้นฐาน 4.ร่วมทีมประเมินกับผู้ประเมินของศูนย์อนามัย 1.self assessment ประเมินตนเอง ตามประเด็น (ตามที่สมัคร) 2.ผู้ตรวจสอบ(Inspectors ) -ตรวจสอบ/ตรวจแนะนำ - ควบคุมดูแล บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม - อนุญาต/รับรองการแจ้ง (ตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535) - คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่ - คู่มือ SOP ทั้ง 9 ระบบ - แผ่นพับแนะนำ EHA - หลักสูตรอบรมสสจ. สสอ.ให้เป็นผู้ให้คำปรึกษา -แบบประเมินตนเองของอปท.

สถานการณ์การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2558 -2559 อบต.ยกระดับเป็น เทศบาลตำบล การยุบอบต.เทศบาลตำบล อปท.ส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์ประเมินของ coreteam เกิน ร้อยละ60 (CoreTeam : คณะกรรมการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมมีความรุนแรง/ข้อร้องเรียนมากขึ้น หลายหน่วยงานให้ความสำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

ปัญหา/อุปสรรค ถึง รพ.สต/สสอ.ทุกแห่ง - การถ่ายทอด/สื่อสาร/ทำความเข้าใจยังไม่ครอบคลุม ถึง รพ.สต/สสอ.ทุกแห่ง - ระบบเอกสาร ข้อมูล ยังไม่ชัดเจน เช่นใบสมัคร - ขาดบุคลากรในการขับเคลื่อนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในสสจ. - เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ มุ่งเน้นผลการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด/แบบประเมินตามเกณฑ์ มากกว่าการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา - ช่วงเวลาการดำเนินงานฯ เร่งรัดงบประมาณ การประเมินต้องให้ทันผลการประเมินของCoreTeam กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น - ผลการประเมินมีอายุ 3 ปี

จุดแข็ง โอกาส และปัจจัยสู่ความสำเร็จ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอนามัยสิ่งแวดล้อมมีความรู้ ประสบการณ์ และทักษะฯสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ(ขาดในส่วนของจังหวัด/อำเภอ) EHA ได้ถูกกำหนดเป็นตัวชี้วัดเขตบริการสุขภาพ และตัวชี้วัดระดับจังหวัด ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ผู้บริหารให้ความสำคัญ และกำหนดเป็นนโยบายการดำเนินงานฯ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นภารกิจหลักที่ อปท. ต้องดำเนินการ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนในพื้นที่ นโยบายกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ในการพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม ของ อปท. นโยบายของผู้บริหาร อปท. ในการพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม

ความคาดหวัง ปีงบประมาณ 2560 - เชื่อมโยงข้อมูลสถานการณ์/อสธจ./EHA /สุขภาพ - ประเด็นงาน EHA ทั้ง 9 ประเด็นงานหลัก และ 20 ประเด็นงานย่อยถูกกำหนดเป็นตัวชี้วัดการดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข - ขยายขอบเขตการพัฒนา EHA ไปยังกทม อบต. ทั่วประเทศ - กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เห็นความสำคัญ และผนวก ประเด็นงาน EHA ทั้ง 9 ประเด็นงานหลัก 20 ประเด็นงานย่อย ไว้ในเงื่อนไขการประเมิน Core Team และคะแนนมากขึ้น - เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ของหน่วยงานทุกกระดับมีความรู้ และทักษะในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม - เป็นเครื่องมือในการพัฒนา คำถามการวิจัย /R2R

จุดยืนการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม - EHA คือ การพัฒนาคุณภาพงานอนามัยสิ่งแวดล้อม แก่ อปท. กระบวนการต้องเกิดขึ้น คงอยู่ในทุกท้องถิ่น - กรมอนามัย คือผู้สนับสนุน ส่งเสริม และผลักดัน ให้เกิดการพัฒนา คุณภาพงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้แก่หน่วยงานทุกระดับ (สสจ./สสอ. และ อปท.) -

มาตรการที่รองรับ - หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอนามัย สิ่งแวดล้อม ของหน่วยงานทุกระดับ เพื่อให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความรู้ ประสบการณ์ และทักษะ ตามบทบาทหน้าที่ 1. กรมอนามัย (Auditors) 2. สสจ./สสอ. (Instructors) 3. อปท. (Practitioners) - การยกย่องเชิดชูเกียรติ (การมอบเกียรติบัตร แก่ อปท. ดีเด่น) - ค้นหาต้นแบบในแต่ละประเด็น และสร้างอปท.แกนนำ -

EHA กรอบแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ขับเคลื่อนกระบวนการ บูรณาการ ร่วมกับ สถ. การพัฒนาบุคลากร MOU สถาบันการศึกษา ขยายสู่ อปท. ทุกระดับ/เน้นกทม ทบทวนหลักสูตร ขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่าน อสธจ. อบรม ฟื้นฟู Auditors, Instructors, Practictionors ยกระดับ EHA สู่ ISO EHA ประเมินผู้ผ่านการอบรม ติดตาม/ประเมินผล กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ การสนับสนุน ประเมินรับรองฯ สุ่มประเมิน อปท. มอบประกาศนียบัตร ระดับพื้นฐาน ระบบตรวจนิเทศฯ กท.สธ. ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ยกย่องเชิดชูเกียรติ EHA Forum 2017 ระดับเกียรติบัตร ถอดบทเรียน พัฒนาระบบสารสนเทศ การประเมินEHA เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์

Road Map EHA 2017 จัดทำระบบฐานข้อมูล สถานการณ์และระบบประเมิน/ระบบสารสนเทศ การประเมินEHA พัฒนากระบวนการระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. (SOP 9+ ประเด็นงานเพิ่มเติม) R2R พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมิน 9 ประเด็นงาน ฟื้นฟู/ (ส่วนกลาง+ ศอ.) EHTC+สถาบันการศึกษา/หาT.need เสริมสร้างความเข้มแข็งผ่านกลไกคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด พัฒนาระบบ/โครงสร้าง (ทบทวน SOP,ประกาศกรมอนามัย) ประเมินความพึงพอใจ/การขับเคลื่อนระบบ/สนับสนุนถอดบทเรียน EHA Forum/รายศูนย์/รายภาค ปรับปรุงทบทวน/พัฒนาหลักสูตร/เอกสารคู่มือ สุ่มประเมิน (พัฒนาต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้)

- ขยายความครอบคลุมให้มากขึ้น (ขยายพื้นที่) - ขยายผลเชิงคุณภาพ การดำเนินงาน EHA ปี 2558 เป้าหมายปี 59 - ขยายความครอบคลุมให้มากขึ้น (ขยายพื้นที่) - ขยายผลเชิงคุณภาพ ผลสำเร็จของการดำเนินงาน EHA ปี 58 ครอบคลุม 54 จังหวัด โดยมากกว่า 50% ของ อปท. ผ่านการประเมิน

เป้าหมาย ปี 2560 ร้อยละ 50 ของเทศบาลทุกระดับ (เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล) *ผ่าน EHA ขั้นพื้นฐาน อย่างน้อย 1 ใน 4 ประเด็น คือ - การจัดการสุขาภิบาลอาหาร (EHA1001-1003) - การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค (EHA2001-2003) - การจัดการสิ่งปฏิกูล (EHA3001-3002) - การจัดการมูลฝอย (EHA4001-4003)

ประกอบด้วย 9 ประเด็นหลัก (20 ประเด็นย่อย) ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ให้การรับรองฯ 1.การจัดการสุขาภิบาลอาหาร (EHA1001-1003) ..... 2.การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค (EHA2001-2003)…… 3.การจัดการสิ่งปฏิกูล (EHA3001-3002) 4.การจัดการมูลฝอย (EHA4001-4003) 5.การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (EHA5000) 6.การจัดการเหตุรำคาญ (EHA6000) 7.การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (EHA7000) 8.การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (EHA8000) 9.การบังคับใช้กฎหมาย (EHA9001-9005) 10.EHA 14001 (ผ่าน4ประเด็นและการจัดการสารสนเทศด้านอนามัยสวล.+LPA 85%) ประกอบด้วย 9 ประเด็นหลัก (20 ประเด็นย่อย)

เกณฑ์และหลักการประเมินและการเทียบเคียง เกณฑ์พื้นฐาน 5 หมวด (หมวด1-5) (Core Team) เกณฑ์มาตรฐานงานและผลงาน หมวด 6 และ 7 (กรมอนามัย) การประเมิน ร้อยละที่ผ่าน (พื้นฐาน) (เกียรติบัตร) Core Team/LPA(สถ.) 60+(ผลงาน/โบนัส) 85+(ธรรมาภิบาล) EHA(1001-9005) พื้นฐาน 5 หมวด หมวด 6 และ7 ของงาน เงื่อนไข กรมอนามัย ใช้คะแนน (Core Team 60+) ทุกหมวด 80+ (coreteam80+ EHA80+)

กระบวนการทำงานระบบEHA/ใช้ระบบITลดขั้นตอนเอกสาร/เน้นบทบาทผู้ประเมิน Core business Function/agenda/area Production Screen & Select Purchaser Provider Regulator function Output & outcome หน่วยงานตาม Function -สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม -สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ -กองประเมินผลกระทบฯ -ศูนย์บริหารกฎหมายฯ -ศูนย์ห้องปฏิบัติการ คณะกรรมการขับเคลื่อนด้านวิชาการและองค์ความรู้ กลุ่ม อวล (EnH Cluster) - ชี้ทิศ/วางกรอบ/กลั่นกรอง เพื่อตัดสินใจเชิงนโยบาย สื่อสาร วางแผนพัฒนาบุคลาการสู่สากล ประสานภาคีทุกภาคส่วน เชื่อมโยงงานกับนานาชาติ กระบวนการทำงาน Cluster จัดทำแผนขับเคลื่อน Cluster บูรณาการ “สู่ถนนชีวิตและสุขภาพ” (5ปี/20ปี) Workshop เพื่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ M & E (พบ อธ 1 ครั้งต่อเดือน และ รอง อธ 2 ครั้งต่อเดือน ในการ ประชุม Cluster ทุก wk ที่ 1 & 3 ของเดือน EHA package ใช้ระบบIT Policy Guideline Innovation Etc. เครื่องมือต่างๆ เช่นวัดความพึงพอใจ DOH Committee คณะอนุกรรมการ/อสธจ/EHA -จำแนกแจกแจงจัดกลุ่มกระบวนการที่สำคัญตามproductที่มีอยู่ -จัดลำดับความสำคัญ -จัดทำSOP People & Community Green & Clean & Safety community อปท. Products Tools Technology Intervention/model Innovation Knowledge Surveillance Etc. กระบวนการทำงานคณะอนุกรรมการ มีการจัดทำ SOP ประชุมคณะอนุ ทุกเดือน มีแผนปฎิบัติการ / ควบคุม กำกับ ติดตาม รายงานผลต่อ cluster ทุกเดือน มีการจัดการความรู้ในแต่ละคณะ EnH Committee ศูนย์อนามัย เขตสุขภาพ จังหวัด HR & FIN & KIS อสธจ เชื่อม 5 กลุ่มวัย Production Unit QC Unit Core Product outlet Dealer Direct customer End customer

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ศูนย์อนามัยที่ 1 – 13 กรมอนามัย สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ขอบคุณครับ facebook : eha.accreditation@facebook.com เว็บไซต์ : สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย http://foodsan.anamai.moph.go.th