การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Verb to be : is,am,are Positive ประโยคบอกเล่า โครงสร้าง = ประธานเอกพจน์ + is……… He ,She ,It + is………… He is a man. He is handsome. He is six years old.
Advertisements

โครงการยาต้านไวรัสเอดส์
Case Tenofovir-Alopecia.
other chronic diseases
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Thamuang Hospital, Kanchanaburi Province 18 Nov 2008.
สถานการณ์การดื้อยาต้านไวรัสในปัจจุบัน (ARV Resistance Surveillance )
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
Adherence ภก. เสถียร วงศ์ใหญ่ โรงพยาบาลโพนพิสัย
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
บทบาทของผู้ให้บริการ ในการเสริมสร้างคุณภาพระบบบริการ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแล รักษา มุมมองผู้ให้บริการในพื้นที่ พญ.พัชรี ขันติพงษ์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
นายแพทย์พสุวัฒน์ คงศีล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
เป็นยารวมเม็ดGPO vir z ในเด็ก
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาและ ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
การบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ งานอนามัยแม่และเด็ก
กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์
รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
Pre-Exposure Prophylaxis for HIV prevention
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
พระพุทธศาสนา.
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
คบสอ.ตะพานหิน.
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
เอชไอวีในแม่และเด็ก: การป้องกันและการดูแลรักษาแม่และเด็ก
สอนอย่างมืออาชีพ หยุดยั้งพฤติกรรมเสี่ยง
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการการป้องกันและการบริหารจัดการด้านเอดส์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 23-Jul-19.
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
ตัวชี้วัดด้านวัณโรค รอบ NFM หน่วยงาน สสจ.ชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

ผังการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี

หญิงตั้งครรภ์ ต่อหน้าถัดไป ANC Pre-Post Test Counseling Test HIV No ANC Pre-Post Test Counseling ดูตามผังการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ No ANC Test HIV positive Counseling ไม่สมัครใจ สมัครใจ HIV negative Repeated Counseling อายุครรภ์ > 14 wks พฤติกรรมเสี่ยง ติดเชื้อ HIVอยู่ใน Window Period Yes No สมัครใจ ตรวจ CD4 เมื่ออายุครรภ์ > 14 wks Yes Y ตรวจ CD4 ให้ Counseling เพื่อให้ลูกกินยาต้านไวรรัส No CD4<200 ให้การดูแลครรภ์ตามปกติ สมัครใจ ไม่สมัครใจ Yes No ผังการดูแล หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ให้ยา ARV ให้ลูกกินยา NVP + AZT Syrup ติดตามดูแลสุขภาพ หลังคลอดตามปกติ ต่อหน้าถัดไป

รอให้ยา AZT เมื่ออายุครรภ์ > 28 สัปดาห์ อายุครรภ์ < 28 wks รอให้ยา AZT เมื่ออายุครรภ์ > 28 สัปดาห์ เริ่มให้ยา AZT ทันที และ NVP เมื่อเจ็บท้องคลอด คลอดบุตร เจาะ CD4 ซ้ำทุก 6 เดือน นับจากการเจาะครั้งแรก ผังการดูแล หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี (ต่อ)

ผังการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี (กรณีที่ไม่ได้ฝากครรภ์)

ต่อหน้าถัดไป (1) หญิงตั้งครรภ์ที่มาคลอดโดยไม่มีผลเลือด เอช ไอ วี ไม่พร้อมรับบริการ ประเมินสภาพร่างกายเมื่อมาคลอด พร้อมรับบริการ ให้การปรึกษาก่อนตรวจเลือดในห้องคลอด ยินยอมตรวจเลือด ไม่ยินยอมตรวจเลือด ดูแลคลอดตามปกติ ตรวจ Anti HIV ด้วย Rapid test ให้การปรึกษาก่อนตรวจเลือด เร็วที่สุดไม่ควรเกิน 48 ชม. ผลเลือดลบ ผลเลือดบวก ดูแลคลอดตามปกติ - ให้การปรึกษาเบื้องต้น เพื่อแจ้งผลเลือดบวก จาก Rapid test - ให้ยา AZT + NVP ยินยอมตรวจเลือด ไม่ยินยอมตรวจเลือด - ให้การดูแลหลัง คลอดตามปกติ - ให้นมแม่ - ให้การปรึกษา เพื่อให้คงผล เลือดลบ ให้การดูแลหลังคลอด ตามปกติ ดูแลคลอดตามวิธีการป้องกัน การแพร่เชื้อ เอช ไอ วี (1) ผังการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี (กรณีที่ไม่ได้ฝากครรภ์) ต่อหน้าถัดไป

ผังการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี (กรณีที่ไม่ได้ฝากครรภ์) (1) งดนมแม่ให้นมผสมสมทดแทน ตรวจเลือดเพื่อยืนยันผลภายใน 48 ชม. ผลเลือดลบ ผลเลือดบวก -ให้การปรึกษากรณีผลเลือดลบ เพื่อ เน้นให้มีผลเลือดลบตลอดไป -ให้นมแม่ - วางแผนครอบครัว - ให้บริการดูแลหลังคลอดตามปกติ -ให้การปรึกษากรณีผลเลือดบวก - ให้ยา ARV ลูก - ให้นมผสม - วางแผนครอบครัว - ส่งต่อเพื่อรับบริการดูแลต่อเนื่อง ทั้งครอบครัว ผังการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี (กรณีที่ไม่ได้ฝากครรภ์)

ผังการดูแลสามี ของหญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ผังการดูแลสามี ของหญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี

อยู่ภายใต้การดูแลของแผนกสูตินรีเวช ให้ข้อมูลโครงการแก่สามี และสอบถามความสมัครใจ ผังการดูแลสามี ของหญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี อยู่ภายใต้การดูแลของแผนกอายุรกรรม สมัครใจ ไม่สมัครใจ ไม่ทราบ ทราบ ให้การปรึกษาการดูแลตนเอง ครอบครัว ผลเลือด ตรวจเลือดหาเชื้อ HIV+ HIV - ภรรยาตรวจ CD4 แล้ว No Yes ตรวจ CD4 CD4 < 200: ให้ยา ARV / การป้องกันและการรักษา (ตามแนวทางการรักษา) CD4 ≥ 200: ให้การปรึกษาต่อเนื่อง / การป้องกันและการรักษา (ตามแนวทางการรักษา) หาก CD4 < 200 ตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน รอตรวจ CD4 พร้อมภรรยา

ผังการดูแลเด็ก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ผังการดูแลเด็ก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี

ทารกที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี Yes No มารดาได้รับ AZT  4 wks เริ่มให้ยา NVP syrup + AZT syrup ภายใน 48 ชม. และ AZT ต่อไป ทุก 6 ชม. นาน 1 สัปดาห์ เริ่มให้ยา NVP syrup + AZT syrup ภายใน 48 ชม. และAZT ต่อไป ทุก 6 ชม. นาน 6 สัปดาห์ ถ้าซีดพิจารณาตรวจ Hemoglobin/ Hematocit Hematocit < 30% Yes No นัดทารกมาตรวจเมื่ออายุ 1 เดือน พร้อมทั้งปรับขนาดยาตามน้ำหนัก ที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น หยุดยา ต่อหน้าถัดไป

ตรวจเลือดหา anti-HIV เมื่ออายุ 12 เดือน อายุ 1-18 เดือน - นัด Follow up ที่อายุ ุ 1 เดือน, 2 เดือน, 4 เดือน, 6 เดือน, 9 เดือน, 12 เดือน, 18 เดือน เพื่อ ตรวจสุขภาพประเมินการเจริญเติบโต + พัฒนาการ และ ให้วัคซีนตามปกติ ดูแลเรื่องการให้นมผสม ตรวจเลือดหา anti-HIV เมื่ออายุ 12 เดือน ผลเลือดลบ ผลเลือดบวก ตรวจซ้ำเมื่ออายุ 18 เดือน ผลเลือดลบ ผลเลือดบวก สรุปว่าไม่มี การติดเชื้อ สรุปติดเชื้อ

สูตรยาสำหรับผู้ใหญ่ สูตรที่ 1 ; d4T+3TC+NVP สูตรที่ 2 ; d4T+3TC+EFV สูตรที่ 3 ; d4T+3TC+(IDV+RTV)

สูตรยาสำหรับเด็ก สูตรที่ 1 ; AZT + 3TC+NVP หรือ d4T + 3TC+NVP

ในกรณีที่แพ้ NVP และ EFV ให้เปลี่ยนเป็น Dual therapy AZT + 3TC d4T+3TC สูตรยาสำหรับเด็ก ในกรณีที่แพ้ NVP และ EFV ให้เปลี่ยนเป็น Dual therapy AZT + 3TC d4T+3TC

ผล PMTCT หญิงตั้งครรภ์ 2544 2545 2546 2547 1. หญิงคลอดทั้งหมด 635,060 670,416 660,663 672,790 2. ร้อยละการฝากครรภ์ 96 97 98 99 3. ร้อยละการตรวจ HIV 93 4. ร้อยละ HIV บวก 14.1 1.2 1.1 1.0 5. ร้อยละได้รับยา 77 78 80 86

ผลป้องกันการแพร่เชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก หญิงตั้งครรภ์ 2544 2545 2546 2547 1. หญิงครรภ์ทั้งหมด 635,060 670,416 660,663 672,790 2. อัตราการติดเชื้อ 1.1 1.2 1.0 3. เด็กเกิดจากแม่ติดเชื้อ 3.1 ถ้าไม่ป้องกันเด็ก ติดเชื้อ ร้อยละ 30 3.2 ถ้าป้องกันเด็ก ติดเชื้อ ร้อยละ 8 3.3 มารดาที่ได้ยาจะ ป้องกันการติดเชื้อ 6,986 2,096 559 906 7,395 2,219 592 972 6,730 2,019 538 840 6,375 1,913 510 705 4. เด็กที่ป้องกันไม่ให้ ติดเชื้อ (3.1 – 3.3) 1,190 1,247 1,179 1,208

ผลการดำเนินงาน PMTCT ( ตุลาคม 2543 - กันยายน 2544 ) ( ตุลาคม 2543 - กันยายน 2544 ) จำนวนหญิงที่มาคลอด: 670,416 ราย -- ฝากครรภ์ 613,032 (96.5 %) -- ผลเลือด HIV 573,343 (93.5 %) -- HIV บวก 6,469 (1.1 %) -- ได้รับยา AZT 5,008 (77.4 %)

ผลการดำเนินงาน การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2544 การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2544 การคลอดต่อปี 635,060 ราย  อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ 1.1 %  เด็กเกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ 6,986 จำนวนของเด็กที่ติดเชื้อ - ไม่ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 30 % 2,096 ราย - ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 8 % 559 77.4 % มารดาได้รับยา AZT จะติดเชื้อ 906 เด็กที่ได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ ปี 2544 1,190 ราย

ผลการดำเนินงาน PMTCT ( ตุลาคม 2544 - กันยายน 2545 ) ( ตุลาคม 2544 - กันยายน 2545 ) จำนวนหญิงที่มาคลอด : 670,416 ราย -- ฝากครรภ์ 650,393 (97.0 %) -- ผลเลือด HIV 643,957 (96.1 %) -- HIV บวก 7,552 (1.2 %) -- ได้รับยา AZT 5,784 (76.6 %)

ผลการดำเนินงาน การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2545 การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2545 การคลอดต่อปี 670,416 ราย  อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ 1.2 %  เด็กเกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ 7,395 จำนวนของเด็กที่ติดเชื้อ - ไม่ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 30 % ติดเชื้อ 2,219 ราย - ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 8 % ติดเชื้อ 592 ถ้า 76.6 % มารดาได้รับยา AZT จะติดเชื้อ 972 เด็กที่ได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ แต่ละปี 1,247 ราย

ผลการดำเนินงาน PMTCT ( ตุลาคม 2545 - กันยายน 2546 ) ( ตุลาคม 2545 - กันยายน 2546 ) จำนวนหญิงที่มาคลอด : 660,633 ราย -- ฝากครรภ์ 643,139 (97.4 %) -- ผลเลือด HIV 644,704 (97.6 %) -- HIV บวก 6,840 (1.1 %) -- ได้รับยา AZT 5,442 (79.6 %)

ผลการดำเนินงาน การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2546 การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2546 การคลอดต่อปี 660,633 ราย  อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ 1.1 %  เด็กเกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ 6,730 จำนวนของเด็กที่ติดเชื้อ - ไม่ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 30 % ติดเชื้อ 2,019 ราย - ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 8 % ติดเชื้อ 538 ถ้า 79.6 % มารดาได้รับยา AZT จะติดเชื้อ 840 เด็กที่ได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ แต่ละปี 1,179 ราย

ผลการดำเนินงาน PMTCT ( ตุลาคม 2546 - กันยายน 2547 ) ( ตุลาคม 2546 - กันยายน 2547 ) จำนวนหญิงที่มาคลอด : 672,790 ราย -- มีการฝากครรภ์ 657,386 (97.9 %) -- ทราบผลเลือด HIV 663,767 (98.7 %) -- ผลเลือด HIV บวก 6,470 (1.0 %) -- ได้รับยา AZT 5,568 (86.1 %)

ผลการดำเนินงาน การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2547 การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกปี 2547 การคลอดต่อปี 672,790 ราย  อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ 1.0 %  เด็กเกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ 6,375 จำนวนของเด็กที่ติดเชื้อ - ไม่ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 30 % ติดเชื้อ 1,913 ราย - ป้องกัน อัตราการติดเชื้อ = 8 % ติดเชื้อ 510 ถ้า 86.1 % มารดาได้รับยา AZT จะติดเชื้อ 705 เด็กที่ได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ แต่ละปี 1,208 ราย

ข้อมูลโครงการ CARE จำนวนคนที่เข้าโครงการ = 3,317 ราย จำนวนคนที่เข้าโครงการ = 3,317 ราย จำนวนแม่ ที่ CD4 < 200 mm3 ที่กินยา = 1,327 ราย จำนวนพ่อ ที่ CD4 < 200 mm3 ที่กินยา = 318 ราย จำนวนลูก ที่ CD4 < 20% ที่กินยา = 6,418 ราย

สวัสดี