ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
For the Future Sustainable
Advertisements

MG415 Current Issues in Modern Management
ชื่อโครงการ การรับเข้าวัตถุดิบ โดยใช้ GPS/Mobile.
UTCC ERP SAP Solution Roadmap University of Thai Chamber of Commerce
หลักระบบสารสนเทศ Principles of information systems
ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น
ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น
การวางแผนและจัดการทรัพยากรองค์กร
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
02:Information system e Syste m อ. ปกรณ์ วิญญู หัตถกิจ.
e 01 Introduction CB 428: Electronic Business Technology and Patterns
Supply chain management
Being Excellent the whole Value Chain
Customer Relationship Management (CRM)
บริษัทอินโนเวทีฟ บิสซิเนส จำกัด หรือ “INNOBIZ” ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 24 มิถุนายน 2552 โดยทีมผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
เกี่ยวกับ บริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จำกัด
Management system at Dell
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
เทคโนโลยีสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทนำ การทำธุรกิจในปัจจุบันมีความสะดวกและทันสมัยมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าและพัฒนาอย่างอย่างต่อเนื่อง ทำให้ทุกคนในโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายยิ่งขึ้น.
อยู่ระหว่างดำเนินการ
อยู่ระหว่างดำเนินการ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
ระบบการชำระเงินของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Payment System
: หลักการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Electronic Payment System การชำระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
Product Overview & ERP Concept
The Digital Firm : Electronic Business and Electronic Commerce
การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า Customer Relationship Management: CRM
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
11 May 2014
การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
ระบบอินเตอร์เน็ตและโครงสร้างระบบสารสนเทศ
ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
สินค้าและบริการ.
Introduction to Data mining
QMT 3602 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า
E-Payment ภาครัฐ หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ ผ่านระบบ KTB Corporate Online เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม.
GROUP ‘2’ slide to unlock.
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
Integrated Information Technology
นโยบาย รมว สธ ข้อที่ 3 “เร่งรัดมาตรการสุขภาพดี โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วยตายและผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง”
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
13 October 2007
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
การจัดการเงินสด และหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
การขายสินค้าออนไลน์.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
การขายสินค้าออนไลน์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E – Business)

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คืออะไร เปิดประเด็น 1 ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คืออะไร 2 จุดมุ่งหมายในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ออะไร 3 คุณคิดว่า ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มีประโยชน์อย่างไร 4 ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คืออะไร 5 ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กับ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เหมือนกันหรือไม่อย่างไร

เงิน​อิเล็​กทรอนิกส์ เครื่องฝากเงินอัตโนมัติ การดำเนินธุรกิจโดยใช้ KEYWORD เงิน​อิเล็​กทรอนิกส์ E - Money Cash Deposit Machine เครื่องฝากเงินอัตโนมัติ E - Business ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ E - Commerce  การดำเนินธุรกิจโดยใช้ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ การชำระเงินผ่าน อินเทอร์เน็ต Internet Payment

ความหมายของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) หมายความว่า ธุรกรรมที่กระทำขึ้นโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ต่างๆที่ขายสินค้าผ่านอินเตอร์เน็ต แม้กระทั่งการทำธุรกรรมต่างๆผ่านตู้กดเงินอัตโนมัติ ก็ถือเป็น ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เช่นกัน

จุดมุ่งหมายของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) นั้นคือ เพื่อสร้างคุณค่าทางธุรกิจมากขึ้นและลดต้นทุนการทำธุรกิจโดยการอาศัยแรงงาน คนที่น้อยในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ช่วยให้องค์กรภายนอกและภายในมีการดำเนินงานได้ง่ายมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม E- Business อาจไม่จำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตหรือเว็บเสมอไป เพียงแต่กระแสความนิยมของอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อวิถีชีวิตของมนุษย์มากยิ่งขึ้น จึงทำให้องค์กรต่างๆ นำ E- Business มาใช้ในช่องทางในการขยายขอบเขตของการดำเนินธุรกิจกันมากยิ่งขึ้น

ประโยชน์ของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) 1. เพิ่มความสะดวกสบายและความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า 2. เพิ่มความรวดเร็วและถูกต้องในการดำเนินงานธุรกิจ 3. เพิ่มความรวดเร็วและถูกต้องในการทำงานขององค์กร 4. ลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ 5. เพิ่มช่องทางในการขยายตลาด

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ SCM = Supply Chain Management BI = Business Intelligence EC = E-Commerce ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) ERP = Enterprise Resource Planning CRM = Customer Relationship Management

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ SCM = Supply Chain Management BI = Business Intelligence EC = E-Commerce ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) การรวบรวมข้อมูลข่าวสารด้านตลาด ข้อมูลลูกค้า และคู่แข่งขัน ERP = Enterprise Resource Planning CRM = Customer Relationship Management

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ SCM = Supply Chain Management BI = Business Intelligence การประสานห่วงโซ่ทางธุรกิจ ตั้งแต่แหล่งวัตถุดิบ ผู้ผลิต ผู้จัดส่ง ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก จนถึงมือผู้บริโภค EC = E-Commerce ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) ERP = Enterprise Resource Planning CRM = Customer Relationship Management

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ SCM = Supply Chain Management BI = Business Intelligence EC = E-Commerce ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) เทคโนโลยีที่ช่วยทำให้เกิดการสั่งซื้อ การขาย การโอนเงินผ่านอินเทอร์เน็ต ERP = Enterprise Resource Planning CRM = Customer Relationship Management

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ SCM = Supply Chain Management BI = Business Intelligence กระบวนการของสำนักงานส่วนหลังและการผลิต เช่น การรับใบสั่งซื้อการจัดซื้อ การจัดการใบส่งของ การจัดสินค้าคงคลัง แผนและการจัดการการผลิต EC = E-Commerce ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) ERP = Enterprise Resource Planning CRM = Customer Relationship Management

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ SCM = Supply Chain Management BI = Business Intelligence การบริหารจัดการ การบริการ และ การสร้างความสัมพันธ์ที่ทำให้ลูกค้าพึงพอใจ กับทั้งสินค้า บริการ และบริษัท EC = E-Commerce ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) ERP = Enterprise Resource Planning CRM = Customer Relationship Management

ความหมายของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E - Commerce) หมายถึง การทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถกระทำผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การโฆษณาในอินเทอร์เน็ต แม้กระทั่งซื้อขายออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทของความสำคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้นจึงลดข้อจำกัดของระยะทางและเวลา ในการทำธุรกรรมลงได้

ข้อดีของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ค่าใช้จ่าย เวลา ทั่วโลก 24 ชม. เป็นการขยายตลาด สู่ทั่วโลก ไม่จำกัด เฉพาะแค่ในไทย ประหยัดเวลาใน การติดต่อซื้อ สินค้าเพียงไม่ กี่วินาที ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการเดินทาง ไปซื้อสินค้า สามารถเปิดร้าน ได้ทุกวัน ตลอด 24 ชม.ไม่มีวันหยุด

ข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่มั่นใจ ไม่มีคุณภาพ เสี่ยง ไม่คุ้มครอง เสี่ยงต่อการถูกฉ้อโกง โกงราคา หรือถูก หลอกลวงได้ง่าย ผู้ซื้ออาจไม่แน่ใจว่า จะได้รับสินค้าจริง หรือสินค้าจะชำรุด เสียหายหรือไม่ สินค้าอาจไม่ผ่าน มาตรฐาน หรือเป็นสินค้า ไม่มีคุณภาพ กฎหมายไทยยังไม่มี การคุ้มครองอย่าง ทั่วถึงเพียงพอ ข้อมูล internet ยังไม่ ปลอดภัยพอ

ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กับ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร เรามาหาคำตอบกัน ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ - ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์, การตกลงทำสัญญาซื้อ - ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่างๆ บนเครือข่าย, การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย, การสื่อสารรับ - ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร และการสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น           แต่ E - Commerce เป็นการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายที่ครอบคลุมการซื้อการขายสินค้าและบริการ โดยกระทำผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เห็นได้ว่า ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีขอบเขตที่กว้างกว่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce)

ตัวอย่าง ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E – Business)

การชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet Payment) 1. การตัดบัญชีเงินฝากผ่านบริการ Internet Banking Internet Payment 2. การชำระผ่านเว็บไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิต 3. การชำระผ่านเว็บ​ไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money)

การชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet Payment) เข้าสู่ระบบ Internet Banking โดยการใส่ชื่อและรหัสผ่าน เลือกบริการชำระเงิน บัญชีเงินฝากที่จะใช้โอนเงิน และระบุข้อมูลบัญชีผู้รับเงิน และจำนวนเงินที่ชำระ แล้วรอระบบยืนยันการทำรายการสำเร็จ หลังจากนั้นจะได้รับการยืนยันทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. การตัดบัญชีเงินฝากผ่านบริการ Internet Banking Internet Payment 2. การชำระผ่านเว็บไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิต 3. การชำระผ่านเว็บ​ไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money)

การชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet Payment) กรอกหมายเลขบัตรเครดิต/บัตรเดบิต ชื่อผู้ถือบัตร วันหมดอายุของบัตร และหมายเลข CVV (Card Verification Value) ซึ่งเป็นรหัส 3 ตัวด้านหลังบัตรเพื่อยืนยันว่าผู้ทำรายการเป็นเจ้าของบัตรจริง แล้วระบบจะแจ้งผลการอนุมัติ  หลังจากนั้นจะได้รับการยืนยันทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านหน้าจอ รวมถึงทาง SMS ด้วย 1. การตัดบัญชีเงินฝากผ่านบริการ Internet Banking Internet Payment 2. การชำระผ่านเว็บไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิต 3. การชำระผ่านเว็บ​ไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money)

การชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet Payment) เข้าสู่เว็บไซต์ของผู้ให้บริการ e -Money  เลือกรายการส่งเงินให้ร้านค้า และใส่ข้อมูลอีเมล์ ร้านค้าผู้รับเงิน จำนวนเงิน ประเภทการชำระเงิน สกุลเงินที่ใช้ชำระ  แล้วรอระบบยืนยันการทำรายการสำเร็จ  หลังจากนั้น ผู้ซื้อ/ร้านค้าผู้รับเงินจะได้รับอีเมล์หรือ SMS เตือนการรับเงิน โดยเงินจะถูกโอนเข้าบัญชี E-Money ของร้านค้า 1. การตัดบัญชีเงินฝากผ่านบริการ Internet Banking Internet Payment 2. การชำระผ่านเว็บไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิต 3. การชำระผ่านเว็บ​ไซต์ของร้านค้าออนไลน์ ด้วยเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-Money)

การเติมเงินด้วยมือถือ Mobile Top Up

ตู้เติมเงินมือถือออนไลน์

ธนาคารออนไลน์บนสมาร์ทโฟน และแทบเล็ต

เงินอิเล็กทรอนิกส์ เงินอิเล็กทรอนิกส์ ( หรือที่เป็นที่รู้จักในชื่อ Electronic Money หรือ E - Money ) หมายถึง มูลค่าเงินที่บันทึกในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เช่น ชิพคอมพิวเตอร์ในบัตรพลาสติก เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ต) ซึ่งผู้ใช้บริการได้ชำระเงินล่วงหน้า ( Pre - paid ) แก่ผู้ให้บริการ E - Money และสามารถใช้ชำระค่าสินค้าบริการได้ตามร้านค้าที่รับชำระ ทำให้มีความสะดวกรวดเร็ว ไม่ต้องพกเงินสดให้ยุ่งยาก และไม่เสียเวลารอเงินทอนอีกด้วย 

ชำระค่าบริการต่างๆได้ง่าย ผ่านตู้บริการอัตโนมัติ TRUE KIOSK

"ตู้ขายเครื่องสำอางอัตโนมัติ Konvy Vending Machine"

ตู้กดเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารต่างๆ

K - Merchant on Mobile ธนาคารกสิกรไทย “KBANK”  ล้ำหน้าไปอีกก้าว กับ K-Merchant on Mobile  บริการรับชำระ..รับรูดบัตรเครดิต ผ่านมือถือสมาร์ทโฟน และแทบเล็ต  ถูกใจคนทำธุรกิจ ร้านค้า ไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ใช้ได้ทุกคน ไม่ต้องง้อเครื่องรูดบัตรเครดิต หรือเครื่อง EDC อีกต่อไป

1. ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คืออะไร แบบฝึกหัด 1. ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คืออะไร 2. จุดมุ่งหมายในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ออะไร 3. จงบอกประโยชน์ของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มา 3 ข้อ 4. ข้อดี - ข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีอะไรบ้าง 5. ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กับ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร

คณะผู้จัดทำ ( สาขาการตลาด) นางสาวจิราพรรณ จงชมผา รหัส 0025216 นางสาวอรุณรัตน์ เอกขุนนามวงษ์ รหัส 0024704 นางสาวธนัชภรณ์ ไชยกันทะ รหัส 0025217 นางสาวชลธิชา เลิศนา รหัส 0024759 นางสาวญาดา ฤกษ์วลีกุล รหัส 0025218 นางสาวณัฐวดี ปิณฑะเกษ์ตริน รหัส 0024763 นางสาวหัทยา พลเยี่ยม รหัส 0025354 นายนัท เชาวมัย รหัส 0024792