“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา 10.00 – 18.30 น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
การให้คะแนน (คะแนนรวม 100 คะแนน) 1) Class participation 10 คะแนน 2) Assignment 1: สรุปหนังสือ “ความคิด 10 มิติ” 11 เล่ม (เล่มละ 3 หน้า) 15 คะแนน 3) Assignment 2: Apply Key Management Model 10 คะแนน 4) Assignment 3: Case Study and Discussion 15 คะแนน 5) Assignment 4: Tourism policy recommendation 30 คะแนน 6) Assignment 5: อารยท่องเที่ยว 20 คะแนน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Assignment 1 สรุปหนังสือ “ความคิด 10 มิติ” 11 เล่ม (เล่มละ 3 หน้า) 15 คะแนน สรุป เรียบเรียงโดยใช้ภาษาของนักศึกษาเอง ไม่คัดลอกมาจากอินเตอร์เน็ตหรือผู้อื่น กำหนดส่งวันที่ 3 ต.ค. 2558 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Assignment 2 Present Key Management Model 10 คะแนน กำหนด Key Management Models ให้แต่ละคนไม่ซ้ำกัน ตามลำดับนักศึกษาทั้งหมด 19 คน Scenario planning Core competencies Ansoff's product/market grid MABA Analysis Strategic dialogue Strategic human capital planning Value disciplines The branding pentagram (9) Business process redesign (10) The theory of constraints (11) The 7-s framework (12) Hofstede's Cultural Dimension (13) Curry's pyramid: customer marketing and relationship management (14) Kraljic’s purchasing model (15) Levers of control (16) The neurotic organization (17) Sociotechnical organization (18) Value-based management (19) Adizes’ PAEI management roles (20) Benchmarking สรุปแนวคิดของ Management Model ประยุกต์เข้ากับการจัดการท่องเที่ยวขององค์กรหรือประเทศ วิเคราะห์ตาม model และนำเสนอข้อเสนอในการพัฒนา กำหนดส่งรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน วันที่ 24 ต.ค. 2558 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Assignment 3 หากรณีศึกษาของบริษัท/รัฐบาลต่างประเทศที่น่าสนใจ 15 คะแนน สรุป เรียบเรียงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยใช้ ภาษาของนักศึกษาเอง (ไม่ใช่คัดลอกมา) ตั้งประเด็นสำหรับการอภิปราย + ตอบ คำถามที่ตั้งไว้นั้น อ้างอิงอย่างถูกต้องถามหลักวิชาการ ความยาวเรื่องละ 2 - 3 หน้ากระดาษ การให้คะแนน ความใหม่และน่าสนใจของกรณีศึกษา (2 คะแนน) การเขียนเรียบเรียง การใช้ภาษา (3 คะแนน) การมีข้อมูลสนับสนุนชัดเจน (3 คะแนน) การใช้ความคิด 10 มิติในการอธิบาย (3 คะแนน) การตั้งประเด็นอภิปรายที่น่าสนใจและการตอบ คำถาม (4 คะแนน) กำหนดส่งรายงานวันที่ 17 ต.ค. 2558 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Assignment 4 เสนอแนะนโยบายการท่องเที่ยว 30 คะแนน วิเคราะห์วิพากษ์นโยบายด้านการท่องเที่ยว มีจุดอ่อน จุดแข็ง เหมาะสม ไม่ เหมาะสม อย่างไร? นำเสนอ “ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวที่จะพัฒนาไทยให้เป็นเศรษฐกิจรายได้สูง” เกณฑ์การให้คะแนน - มีการใช้ความคิดทั้ง 10 มิติในการอธิบาย 10 คะแนน - ยุทธศาสตร์น่าสนใจ มีข้อมูลสนับสนุน 20 คะแนน นำเสนอในชั้นเรียน วันที่ 24 ต.ค. 2558 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Assignment 5 อารยท่องเที่ยว นำเสนอกรอบความคิดอารย ท่องเที่ยว (ใช้หลักปรัชญาอารยะกำกับ) อธิบายมีองค์ประกอบอะไรบ้างและสำคัญ อย่างไร แต่ละองค์ประกอบมีความเชื่อมโยงกัน อย่างไร เกณฑ์การให้คะแนน การใช้หลักปรัชญาอารยะกำกับ 5 คะแนน ความสมบูรณ์กรอบความคิดอารยท่องเที่ยว 15 คะแนน การใช้ความคิด 10 มิติในการอธิบาย 5 คะแนน การใช้แนวคิดอารยะ 10 คะแนน กำหนดนำเสนอในชั้นเรียน วันที่ 24 ต.ค. 2558 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
การตัดเกรด 80 ขึ้นไป A 75-79 B+ 70-74 B 65-69 C+ 60-64 C 55-59 D+ 50-54 D ต่ำกว่า 50 F โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Part 1 Philosophy and concept for goal setting โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
1. หลักปรัชญาในการกำหนดเป้าหมาย 1.1 มูลค่า ≠ คุณค่า ≠ เลอค่า บางอย่าง มีมูลค่า อาจไม่มีคุณค่า บางอย่าง มีคุณค่า อาจไม่มีมูลค่า บางอย่าง มีคุณค่า อาจมีมูลค่าด้วยได้ เกณฑ์เป้าหมายต่ำสุด คือ ต้องมีคุณค่า โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
1.2 อัตตา => ชีวา => ปวงประชา 1.2 อัตตา => ชีวา => ปวงประชา ขั้นที่หนึ่ง…ดำเนินชีวิตอยู่เพื่อ “อัตตา” ขั้นที่สอง…ดำเนินชีวิตอยู่เพื่อ “ชีวา” ขั้นที่สาม…ดำเนินชีวิตอยู่เพื่อ “ปวงประชา” โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
1.3 หลักปรัชญาปัจเจกอารยะและปรัชญาสังคมอารยะ 1.3 หลักปรัชญาปัจเจกอารยะและปรัชญาสังคมอารยะ ปรัชญาการสร้างชาติ ปัจเจกอารยะ ความดีแท้ ความงามแท้ ความจริงแท้ สังคมอารยะ เสรีภาพ ที่พึงประสงค์ เสมอภาค ที่พึงประสงค์ ภราดรภาพ ที่พึงประสงค์ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
หัวข้อเพื่ออภิปราย โดยใช้หลักปรัชญากำกับ ยุทธศาสตร์สมมติ : การสร้างบ่อนคาสิโนเป็นแหล่งท่องเที่ยวของประเทศ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2. แนวคิดการพัฒนาสู่เป้าหมายที่อารยะ 2.1 การพัฒนาเป้าหมายที่สมดุลสร้างความยั่งยืน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Economic Prosperity & Sustainability Political Freedom and Stability Social Cohesion and Diversity โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2.2 อารยาภิวัฒน์ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
หัวข้อเพื่ออภิปราย 1)ให้นศ หัวข้อเพื่ออภิปราย 1)ให้นศ. เสนอคนละ 1 ประเด็นในด้านการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น จะเป็นสิ่งดีหรือไม่ดีก็ได้ 2)ให้แยกแยะว่า ประเด็นดังกล่าว อยู่ในระยะใดของกระบวนการ "อารยาภิวัฒน์" และควรใช้หลักใดในการแก้ไขหรือพัฒนา ? โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2.3 ไตรอารยสภาพ – คน ระบบ บริบท 2.3 ไตรอารยสภาพ – คน ระบบ บริบท โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
ยกตัวอย่าง สิงคโปร์ ลีกวนยู (Lee Kuan Yew) "วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.1965 สิงคโปร์จะเป็นอิสระ เป็นชาติอธิปไตยแบบประชาธิปไตย อยู่บนพื้นฐาน เสรีภาพ และความเป็นธรรม บรรลุถึงความกินดี อยู่ดี ประชาชนมีความสุข มีสังคมที่เท่าเทียมกัน และได้รับความยุติธรรมอย่างที่สุด" ลีกวนยู โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
Part 2 The process of strategy formulation โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
1. กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์ (strategy) คืออะไร ? 1.1 Dr. Dan Can Do’s Law คืออะไร? Theory ยกกำลัง เลือกจาก 100 ปัจจัย ได้ผลลัพธ์ Pareto law หนึ่ง 20 80% สอง 4 64% Dr.Dan Can Do law สาม 1 51.2% โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
1.2 Why – ทำไม Dr.Dan can do’s law จึงสำคัญ? ทรัพยากรน้อย ต้องสนปัจจัย critical เพื่อผลลัพธ์สูงสุด โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2. กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ Strategy implementing Vision SWOT Strategic choice Strategic Option Estimate Options เลือก Choose Strategy ภาพที่ 1 กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2.1 การกำหนดวิสัยทัศน์ (vision) ตั้งเป้าหมายท้าทายแบบก้าวกระโดด นักท่องเที่ยว 100ล้านคน ภายในปี 2560 จากปี 2558 ตอนนี้ 28 ล้านคน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2.2 การประเมินสภาพแวดล้อม (environmental scanning) 2.2.1 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
ตารางที่ 1 : ตัวอย่าง ปัจจัยภายนอกที่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคตของประเทศไทย ด้าน ปัจจัยภายนอก Social ประชาชนร่วมเฝ้าระวังภัย ผ่าน Social media สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลให้สัดส่วนเจ้าหน้าที่ตำรวจสูงอายุเพิ่มขึ้น มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมสูงขึ้น การศึกษาของประเทศมีคุณภาพ บริหารจัดการสังคมผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ Technology การพัฒนาเทคโนโลยี Social media ทำให้เกิดอาชญากรรมรูปแบบใหม่ๆ เครื่องมือ/อุปกรณ์ มีเทคโนโลยีสูงขึ้น ส่งผลให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิ ช่วยในการจับกุมผู้ร้ายได้รวดเร็ว และถูกต้อง (เช่น เหตุระเบิดที่บริเวณแยกราชประสงค์) มีการพัฒนาหุ่นยนต์ให้บริการจนสามารถใช้แทนมนุษย์ได้ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
ตารางที่ 1 : ตัวอย่าง ปัจจัยภายนอกที่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคตของประเทศไทย ด้าน ปัจจัยภายนอก Economic เปิดเสรีการค้า การเคลื่อนย้ายแรงงาน ทำให้นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันอาชญากรรมก็เพิ่มขึ้นด้วย เศรษฐกิจไม่ดีทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวลดลง และเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้น เช่น ปล้น ชิง ทรัพย์ เป็นต้น ประเทศไทยมีการเจริญเติบโตสูง Environment ฟ้องร้องคดีสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ความขัดแย้งจากการแย้งชิงทรัพยากรเพิ่มขึ้น นโยบายการพัฒนาประเทศเน้นส่งเสริมสิ่งแวดล้อมนำ Politics การแทรกแซงจากฝ่ายการเมืองลดลง เนื่องจากประชาชนมีความเป็นพลเมืองสูงขึ้น กฎหมายจะยิ่งล้าสมัยเร็วขึ้น เพราะการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทุกด้านรวดเร็วขึ้น การตรวจสอบมาตรฐานด้านการบินที่เข้มข้น รวมทั้งวิชาชีพมัคคุเทศก์ แก้คอร์รัปชั่นได้ ประชาชนรับผิดชอบต่อส่วนรวมมากขึ้น แก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศได้ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2.2.2 การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน ตารางที่ 2 : ตัวอย่าง ปัจจัยภายใน (จุดแข็ง, จุดอ่อน) ของตำรวจไทย ด้าน จุดแข็ง จุดอ่อน บุคลากร มีกำลังพลมาก ความสามารถเฉพาะตัวสูง ทำงานใกล้ชิดกับประชาชน ผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้าหน่วยบางหน่วย ไม่สามารถบริหารงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ การหมุนเวียนบุคลากรภายในสำนักงานตารวจแห่งชาติ ยังไม่คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ของภารกิจหลักและความสามารถของบุคลากร ขาดแผนพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ทรัพยากร มีสถานีตำรวจที่ตั้งอยู่ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ อาวุธปืน ใช้ป้องกันหรือข่มขู่ผู้ร้าย วัสดุอุปกรณ์/เครื่องมือในการดำเนินงานไม่เพียงพอ ความไม่ทันสมัยของเทคโนโลยีในการสืบสวน ค่านิยม มุ่งให้การบริการแก่ประชาชน "บำบัดทุกข์ บำรุงสุข" แก่ประชาชน รักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง พวกพ้องนิยม อำนาจนิยม วัฒนธรรม ให้ความสำคัญกับระเบียบวินัย ให้ความสำคัญกับคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ระบบอุปถัมภ์ เส้นสาย การเอาใจผู้บังคับบัญชา การรับสินบน หรือส่วย
2.3 การกำหนดทางเลือกยุทธศาสตร์ (Strategic choice) 2.3.1 การกำหนดแนวทางหรือทางเลือกทางยุทธศาสตร์ (strategic Option) ตารางที่ 2 ตัวอย่าง ทางเลือกต่างๆ เพื่อลดการก่ออาชญากรรมในประเทศไทย ทางเลือกยุทธศาสตร์ เพื่อลดการก่ออาชญากรรม 1 2 3 4 ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบ Data Mining เพิ่มโทษผู้ก่ออาชญากรรม เพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ความตกลงร่วมกับตำรวจสากล โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2.3.2 การประเมินทางเลือกยุทธศาสตร์ ตารางที่ 3 เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินทางเลือกยุทธศาสตร์ เกณฑ์ ความหมาย 1. คุณค่า ทางเลือกตอบสนองต่อเป้าหมายมากน้อยเพียงใด 2. ความเหมาะสม ทางเลือกสอดคล้องกับพันธกิจ ค่านิยมหรือหลักการที่ยึดถือ มากน้อยเพียงใด 3. ความเป็นไปได้ ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ จะสามารถดำเนินการทางเลือกให้สำเร็จได้หรือไม่ 4. การยอมรับ ทางเลือกส่งผลต่อผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ มากน้อยเพียงใด มีวิธีชดเชยผู้ได้รับผลกระทบหรือไม่ 5. ความคุ้มค่า ทางเลือกให้ประโยชน์คุ้มค่าหรือไม่ เมื่อเทียบกับต้นทุนที่เกิดขึ้น 6. จังหวะเวลา ทางเลือกเหมาะสมกับช่วงเวลามากน้อยเพียงใด โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
ตัวอย่าง การประเมินทางเลือกยุทธศาสตร์ เพื่อลดการก่ออาชญากรรมในประเทศไทย(คะแนน 1-5) คุณค่า ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ การยอมรับ ความคุ้มค่า จังหวะเวลา รวมคะแนน 1. พัฒนาระบบ Data Mining 4 5 3 23 2. เพิ่มโทษผู้ก่ออาชญากรรม 2 22 3. เพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ 18 4. ความตกลงร่วมกับตำรวจสากล 21 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
2.4 การดำเนินการตามยุทธศาสตร์ให้สำเร็จ (Strategy implementing) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลที่คาดว่าจะได้รับ ตัวชี้วัดความสำเร็จ การกำหนดโครงสร้างหน่วยงานการทำงาน ทรัพยากรที่ต้องใช้ หน่วยงานที่รับผิดชอบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การกำหนดตารางเวลาการทำงาน ขบวนการสื่อสาร ควบคุมดำเนินการในขั้นตอนต่างๆ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, www.facebook.com/drdancando
บริษัท ศูนย์ฝึกอบรมและที่ปรึกษา ไอเอฟดี จำกัด สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาได้ให้บริการงานวิจัย ฝึกอบรม และคำปรึกษาการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศมากกว่า 500 หน่วยงานอย่างต่อเนื่องตลอด 25 ปีที่ผ่านมา บริษัท ศูนย์ฝึกอบรมและที่ปรึกษา ไอเอฟดี จำกัด ให้บริการคำปรึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ • จัดโครงการฝึกอบรม ตามความต้องการของหน่วยงาน • ฝึกอบรมสำหรับบุคคลทั่วไป (Public Training) และฝึกอบรมแบบ In-house • จัด Walk Rally และงานสัมมนา (บริการทั้งด้านการจัดโปรแกรมและที่พัก) • บริการสำรวจความคิดเห็น การทำ Poll การวิจัยเชิงสำรวจ • กิจกรรมพิเศษ (Event) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม 87/110 อาคารโมเดอร์นทาวน์ ชั้น 14 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์สำนักงาน 0 2382 1560 -2 โทรศัพท์สายตรง : 0 2711 6495 โทรสาร : 0 2382 1565 www.ifdtraining.com อีเมล์: Info@ifdtraining.com , ifdtraining03@gmail.com
กองทุนเวลาเพื่อสังคม FB: Timebanksociety Thai www.Timebanksociety.org Tel. & Fax : 0-2711-7492 ตู้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 Website: http://www.kriengsak.com E-mail: kriengsak@kriengsak.com , Kriengsak@post.harvard.edu โทรศัพท์ : 081-776-8989 โทรสาร : 02-711-7474 ตู้ ป.ณ. 369 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110
ติดต่อ โทร. : 081-776-8989 E-mail : kriengsak@kriengsak.com www.facebook.com/ drdancando