Climate II อาจารย์สอง Satit UP.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
Advertisements

ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
Biomes of the World.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ทวีปยุโรป.
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ.
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
บันทึกข้อตงลงความร่วมมือ ว่าด้วยการอนุรักษ์ คุ้มครองถิ่นกำเนิดพืช สมุนไพรจากป่าชุมชน และส่งเสริมการปลูกป่าเพื่อ การใช้ประโยชน์พืชสมุนไพร อย่างยั่งยืน.
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ระบบนิเวศ.
The Clash of Civilization
เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
โครงการ Quick Win Project (แก้ไขรายละเอียด)
จังหวัดฟุกุโอกะ ศูนย์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
น้ำและมหาสมุทร.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
ผังองค์กรกลุ่มงานประกันสุขภาพ
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานฯ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
อ. ธนา ยีรัมย์ วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ประวัติศาสตร์กฎหมาย Legal History
By Poonyaporn Siripanichponng
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย.
ยิ้มก่อนเรียน.
Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.
นำเสนอ เรื่อง ป่าไม้.
CLIMATE: ZONES AND BIOMES.
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
หลักการทรงงาน รัชกาลที่ 9.
Thailand ถัดไป.
เรื่อง ทวีปอเมริกาใต้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Climate II อาจารย์สอง Satit UP

การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยอาศัยหยาดน้ำฟ้า เขตภูมิอากาศแห้งแล้ง (Arid Zone) 0 – 250 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง (Semi - arid Zone) 250 – 500 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศกึ่งชุ่มชื้น (Subhumid Zone) 500 – 1,000 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศชุ่มชื้น (Humid Zone) 1,000 – 2,000 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศชุ่มชื้นมาก (Very Wet) ตั้งแต่ 2,000 มิลลิเมตรต่อปี

การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยอาศัยอุณหภูมิ เขตภูมิอากาศร้อน ( Tropic Zone ) อยู่ในเขตละติจูดต่ำ ระหว่างละติจูด ที่ 23 องศาเหนือ ถึง 23 องศาใต้ เขตภูมิอากาศอบอุ่น ( Temperate Zone ) อยู่ในเขตละติจูดกลาง ระหว่างละติจูด ที่ 23 องศา ถึง 66 องศา เหนือ/ใต้ เขตภูมิอากาศหนาว ( Polar Zone ) ในเขตละติจูดตั้งแต่ 66 องศาเหนือ และใต้ ไปยังขั้วโลก

การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยใช้มวลอากาศและแนวปะทะมวลอากาศ ภูมิอากาศในเขตละติจูดต่ำ เป็นแหล่งกำเนิดของมวลอากาศเขตร้อนและร่องความกดอากาศต่ำแถบศูนย์สูตร บริเวณละติจูดที่ 23 องศาเหนือ ถึง 23 องศาใต้ อากาศในเขตละติจูดกลาง เป็นเขตที่มีการปะทะกันของมวลอากาศอุ่นเขต ร้อนและมวลอากาศเย็นขั้วโลก ทำให้เกิดแนวปะทะมวลอากาศขึ้นตลอด ภูมิอากาศในเขตละติจูดสูง เป็นเขตที่เกิดจากอิทธิพลของมวลอากาศเย็นแถบ ขั้วโลก และมวลอากาศอาร์กติก

การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยใช้พืชพรรณธรรมชาติ  การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยใช้พืชพรรณธรรมชาติ ภูมิอากาศแบบป่าศูนย์สูตร   ภูมิอากาศแบบป่าเมดิเตอร์เรเนียน เขตภูมิอากาศแบบป่ามรสุม ภูมิอากาศแบบป่าไม้ใบกว้าง ภูมิอากาศแบบป่าละเมาะ / ป่าเบญจพรรณ ภูมิอากาศแบบป่าสน(เขตหนาว) ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ภูมิอากาศแบบทุนดรา  ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าแพรี่   ภูมิอากาศแบบขั้วโลก ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสเต็ปป์   ภูมิอากาศแบบทะเลทราย

GREEK CLIMATE SYSTEM Torrid zone เขตร้อน Temperate zone เขตอบอุ่น Frigid zone เขตหนาว

Low-latitude Climates Mid-latitude Climates High-latitude Climates

อุณหภูมิเฉลี่ยในรอบปี ของแต่ละบริเวณในโลก เขตหนาว เขตอบอุ่น เขตร้อน เขตอบอุ่น เขตหนาว

บริเวณที่มี ฝนมากที่สุด เขตภูมิอากาศตามแบบเคิปเปน ละติจูด บริเวณที่มี ฝนมากที่สุด บริเวณที่มี ฝนมาก บริเวณที่มี ฝนมาก

อักษรตัวแรก : letter is a general temperature profile based on latitude A    C    D   E   tropical (torrid) no winter warm temperate cool winter cool temperate cold winter cold (frigid) no summer

เขตอากาศหลัก ๆ โดยพิจารณาจากที่ตั้งตามละติจูดเป็นหลัก KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศหลักโดยภาพรวม เขตอากาศหลัก ๆ โดยพิจารณาจากที่ตั้งตามละติจูดเป็นหลัก

ลักษณะอากาศเขตแห้งแล้ง ลักษณะอากาศเขตอบอุ่น ลักษณะอากาศเขตหิมะ/หนาว KÖPPEN CLIMATE SYSTEM เขตภูมิอากาศ symbol zone climate ลักษณะอากาศเขตร้อน A tropical climate ลักษณะอากาศเขตแห้งแล้ง B dry climate ลักษณะอากาศเขตอบอุ่น C warm climate ลักษณะอากาศเขตหิมะ/หนาว D Snow/cool climate ลักษณะอากาศเขตทุ่งน้ำแข็ง E ice climate ลักษณะอากาศเขตที่สูง H high land climate

สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเขตภูมิอากาศตัวอักษรแรก KOPPEN SYSTEM สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเขตภูมิอากาศตัวอักษรแรก A : tropical rainy climates B : dry climates C : humid subtropical climates D : humid continental climates E : polar climates H : highland climates

การจำแนกภูมิอากาศโลก : อักษรตัวแรก การจำแนกภูมิอากาศโลก : อักษรตัวแรก ภูมิอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร ภูมิอากาศแห้ง ภูมิอากาศอบอุ่นชื้นแถบละติจูดกลาง ภูมิอากาศชื้นภาคพื้นทวีป ภูมิอากาศขั้วโลก ภูมิอากาศแถบภูเขาสูง A    B    C   D   E   H  

เขตหนาวจัด เขตอบอุ่น-หนาว เขตร้อนแล้ง เขตร้อนชื้น เขตร้อนแล้ง เขตอบอุ่น-หนาว เขตหนาวจัด

การจำแนกภูมิอากาศโลก Tropical Rainforest ( Af ) Tropical Monsoon ( Am ) Tropical Savanna ( Aw ) Steppe / Semi - Desert ( BS ) Desert ( BW ) Humid Subtropical ( Cfa ) Mediterranean ( Cs ) Marine West Coast ( Cfb ) Humid Continental ( Dfa ) Sub Arctic ( Dfc ) Tundra ( ET ) Ice Cap ( EF ) Highland ( H ) A B C D E H

Climate types under the Köppen climate classification Class A Tropical Moist Climates: all months have average temperatures above 18 degrees Celsius Class B Dry Climates: with deficient precipitation during most of the year Class C Moist Mid-latitude Climates / (Mesothermal Climate) with Mild Winters Class D Moist Mid-Latitude Climates / (Microthermal Climates) with Cold Winters Class E Polar Climates: with extremely cold winters and summers Class H Highland Climate

Climate types Köppen climate classification Class A ภูมิอากาศเขตร้อนชื้น Class B ภูมิอากาศเขตแห้งแล้ง Class C ภูมิอากาศเขตอบอุ่น / ภูมิอากาศอุณหภูมิปานกลาง Class D ภูมิอากาศเขตหนาว / หนาวเย็น / ภูมิอากาศแบบอุณหภูมิต่ำ Class E ภูมิอากาศเขตขั้วโลก / ภูมิอากาศแบบน้ำแข็ง Class H ภูมิอากาศแบบที่สูง

Climate types under the Köppen climate classification Class A Equatorial (Af) Monsoon (Am) Savanna (Aw, As) Class B Desert (BWh, BWk) Semi-arid / semi- desert /Steppe (BSh, BSk) Class C Humid subtropical (Cfa, Cwa) Oceanic (Cfb, Cwb, Cfc) Mediterranean (Csa, Csb) Class D Humid continental (Dfa, Dwa, Dfb, Dwb) Sub-Arctic (Dfc, Dwc, Dfd, Dwd) Class E Polar ( E ) - Ice cap (EF) - Tundra (ET) Class H Highland ( H )

เขตภูมิอากาศตามแบบเคิปเปน = A = B = C = D = E = H

KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในโลก

KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในโลก

เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

อักษรตัวแรก อักษรตัวที่ 2 อักษรตัวที่ 3 KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศ A : tropical rainy climates B : dry climates C : humid subtropical climates D : humid continental climates E : polar climates climates H : highland climates อักษรตัวที่ 2 A, C & D climates f: no dry season w: dry winter season s: dry summer season B climates S: steppe W: desert อักษรตัวที่ 3 C & D climates a: hot summer b: mild summer c: cool summer d: cold B climates h: hot k: cold E climates T: tundra F: ice cap