การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

หลักนิเทศศาสตร์ (Principles of Communication Art) FCA1101
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
(กล้องจับที่วิทยากร)
เครื่องเบญจรงค์.
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
กระบวนการของการอธิบาย
ประชาคมอาเซียน.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ศาสนาคริสต์111
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ขดลวดพยุงสายยาง.
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ยิ้มก่อนเรียน.
Supply Chain Management
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
ความสำคัญ ของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

เราเป็นใคร มาจากไหน

คนไทยมาจากไหน ๑. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอยู่ในบริเวณมณฑลเสฉวน ถูกจีนรุกราน แล้วอพยพลงสู่ยูนานและแหลมอินโดจีน นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ เตเรียน เดอร์ ลาคูเปอรี ๒. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอยู่ในบริเวณเทือกเขาอัลไต สรุปได้ว่าไทยเป็นเชื้อสายมองโกล เรียกว่าลาวหรือต้ามุง เนื่องจากถูกชนเผ่าอื่นรุกรานจึงอพยพมาจากตอนกลางมาสู่ตอนใต้ของจีน และเข้าสู่อินโดจีน นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ วิลเลี่ยม คลิฟตันด๊อด

๓. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยกระจัดกระจายทั่วไปในบริเวณตอนใต้ของจีน และทางตอนเหนือของภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนบริเวณ รัฐอัสสัมของอินเดีย นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ วูลแฟรม อีเบอร์ฮาด , เฟรเดอริก โมต , วิลเลียม เก๊ดนีย์ ๔. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอยู่ในบริเวณเนื้อที่ประเทศไทยปัจจุบัน เนื่องจากมีการตรวจวิเคราะห์โครงกระดูกในยุคหินใหม่ ที่ขุดค้นพบในประเทศไทย นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ นายแพทย์สุด แสงวิเชียร , ศาสตราจารย์ ชิน อยู่ดี

๕.     เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอาจอยู่ในบริเวณคาบสมุทรมลายู  หรือบริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศไทย  และค่อย ๆ แพร่กระจายไปทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอนใต้ของจีน  เนื่องจากมีการเปรียบเทียบหมู่เลือด และความถี่ของยีน  นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ  นายแพทย์สมศักดิ์  พันธุ์สมบูรณ์ , นายแพทย์ประเวศ วะสี

สังคมทุกแห่งแม้มีความแตกต่างกันในเกือบทุกด้าน (การเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา ค่านิยม) แต่ สังคมทั่วโลกมีลักษณะพื้นฐานที่เหมือนกันคือ “สังคมเป็นการรวมตัวกันเพื่อความอยู่รอดของสมาชิก” “วัฒนธรรม” Culture เริ่มขึ้นประมาณปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนักมานุษยวิทยาคนแรกที่ใช้คือ Sir Edward B.Tylor

Tylor นิยาม Culture ไว้ใน Primitive Culture หมายถึง ผลรวมของระบบความรู้ ความเชื่อ ศิลปะ จริยธรรม กฎหมาย ประเพณี ตลอดจนความสามารถ และอุปนิสัยต่างๆ ซึ่งเป็นผลมาจากการเป็นสมาชิกของสังคม Belief System Social Values

นักมานุษยวิทยาเน้นศึกษาวัฒนธรรม 3 สาขาย่อย Archeology Linguistics Ethnology

วัฒนธรรม มิใช่พฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้ แต่เป็นระบบความเชื่อและค่านิยมทางสังคม ที่อยู่ข้างหลังพฤติกรรมมนุษย์ วัฒนธรรม คือ กฎระเบียบหรือมาตรฐานของพฤติกรรมที่คนในสังคมยอมรับ วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิต (way of life) ของคนในสังคม

การสื่อสารต่างวัฒนธรรม Intercultural Communication Lustig และ Koester “กระบวนการแลกเปลี่ยนและตีความสัญลักษณ์และบริบทหนึ่งๆโดยบุคคลในกระบวนการสื่อสารนั้น มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมมากในระดับที่มีการตีความและมีความคาดหวังเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เหมาะสมแตกต่างกัน นำไปสู่ความหมายที่ไม่เหมือนกัน” มักเน้น การสื่อสารระหว่างบุคคล ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง แบบไม่ผ่านสื่อ เน้นการสื่อสารแบบเห็นหน้า (face-to-face) และปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน (Interactive)

การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม Cross-Cultural Communication เน้นศึกษาเปรียบเทียบว่าคนในแต่ละวัฒนธรรมสื่อสารต่างกันอย่างไร โดยที่คู่สื่อสารไม่จำเป็นต้องมาจากต่างวัฒนธรรมกัน เช่น เปรียบเทียบวิธีการทักทายของคนไทยและวิธีการทักทายของคนอเมริกัน

ความแตกต่างวัฒนธรรมจากกว้างไปแคบ ซีกโลกตะวันออก-ตะวันตก ทวีป ประเทศ ภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ กลุ่มสังคมวัฒนธรรมต่างๆ ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ เพศ ความแตกต่างวัฒนธรรมจากกว้างไปแคบ

การสื่อสารระหว่างกลุ่มเชื้อชาติ Interracial Communication หมายถึง กลุ่มที่มีลักษณะทางกายภาพคล้ายคลึงกัน เช่นสีผิว รูปร่าง ตก จมูก สีผม เส้นผม Negroid คนผิวดำ ในอเมริกา แอฟริกา Mongoloid เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตะวันออกไกล Caucasoid คนยุโรป ชาวตะวันตกอื่นๆ แม้ว่าเชื้อชาติเป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่เนื่องจากมีการเดินทางอพยพ การแต่งงาน จึงยากต่อการแบ่งแยก

การสื่อสารระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ Interethnic Communication เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษกลุ่มเดียวกัน ใช้ภาษาพูดเดียวกัน ยึดขนบธรรมเนียมประเพณีและพิธีกรรมต่างๆเหมือนกันหรือคล้ายกัน กลุ่มเร่ร่อน เช่น ผีตองเหลือง ซามังซาไก กลุ่มตั้งถิ่นฐานกึ่งถาวร เผ่ากาโร ชิน นากะในพม่าและอินเดีย ลาวโซ่งในไทย ฮ่อ แม้ว เย้า ลีซอ มูเซอ อีก้อ กลุ่มรัฐประเทศ ถาวร จัดตั้งเป็นประเทศ

We all are in one global village Our World is Shrinking We all are in one global village เมื่อบุคคลเข้ามาสู่วัฒนธรรมใหม่ ช่องว่างระหว่างความคุ้นเคย และความสะดวกสบายของถิ่นเดิม กับความไม่คุ้นเคยในถิ่นใหม่ ย่อมจำกัดความสามารถในการทำงานและการดำรงชีพอย่างมีประสิทธิภาพ

ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของวัฒนธรรม 1.วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (shared ideas) และค่านิยมทางสังคม 2.วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (symbol) 3.วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (culture is learned)

(Insight)

4. วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา 5 4.วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา 5.วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์กำหนดนิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว 6.วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง

แก่นแท้อยู่ที่การบูชาพระพุทธเจ้าอย่างใกล้ชิด โดยใช้องค์พระบรมธาตุเจดีย์เป็นตัวแทน

Diffusion Culture หมายถึงการกระจายตัวของแบบแผนทางวัฒนธรรมจากพื้นที่หนึ่งไปยังพื้นที่อื่น เช่น ภาษา การแต่งกาย ศาสนา เทคโนโลยี วัตถุสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช้ หรือความคิดความเชื่อ