ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Advertisements

ส่วนประกอบหลักและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กไปถีงคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการทำงาน.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
ชุดที่ 2 Hardware.
Introduction to computers
1.
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
งานศึกษาค้นคว้ารายงาน 10 คะแนน
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เอกสารประกอบการบรรยาย (2)
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Welco me to. วัตถุประสงค์ :  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการใช้ คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมและเป็น ประโยชน์  เพื่อให้นักศึกษารู้จักใช้คอมพิวเตอร์ให้ เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า.
จัดทำโดย เด็กหญิง พัทธนันท์ ริบแจ่ม เลขที่ 7 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ. ลำพูน.
Integrated Network Card
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Summary of Ch1-Ch4 Dept. of Computer Engineering Khon Kaen University.
ความรู้พื้นฐานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Fundamentals of Computer Science) 1 Introduction to Computers.
Information Technology
อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device) Input หมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผลโดย User จะเป็นผู้ป้อนข้อมูลเข้าสู่ เครื่อง.
เนื้อหาที่จะเรียน คอมพิวเตอร์คืออะไร ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ อินเตอร์เน็ต Microsoft Office.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
ระบบคอมพิวเตอร์.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
วิชา ฮาร์ดแวร์ และการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ง33222
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูล (Storage Devices)
Overview 13 October 2007
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์คืออะไร      คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล.
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลและองค์ประกอบข้อมูล
บทที่ 2 Input & Output Devices
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Floppy Disk Floppy Disk หรือ Diskkette เป็นอุปกรณ์
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีต่อคุณภาพชีวิต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล (Input & Output Devices)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และภาษาซี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล (Introduction to Computer and Data Processing) บทที่ Business Computer & Information.
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
บทที่ 3 หน่วยความจำและสื่อบันทึกข้อมูล (Memory and storage)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัสวิชา : INT 1109 ชื่อวิชา : พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยกิต : 3(2-2-5) ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย] โทร. (082) 702-0120 สถานที่ติดต่อ : อาคาร 26 ชั้น 5 (ห้องพักอาจารย์) e-mail : busarin.ea@hotmail.co.th

คำอธิบายรายวิชา หลักการพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการระบบสารสนเทศ ระบบเครือข่ายเบื้องต้น การใช้อินเทอร์เน็ต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่าง ๆ

การวัดและประเมินผล 1. วินัยในการเรียน 10% 2. สอบย่อย 10% 1. วินัยในการเรียน 10% 2. สอบย่อย 10% 3. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 30% 4. การสอบ 4.1 สอบกลางภาค 25% 4.2 สอบปลายภาค 25%

เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์

สังคมยุคข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology

สังคมสารสนเทศ (Information Society) สังคมความรู้ (Knowledge Society) สื่อ ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสาร บุคคลมีการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม และการสื่อสารสองทาง มีการโต้ตอบซึ่งกันและกัน โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เกิดชุมชนแบบใหม่ที่เรียกว่า ไซเปอร์สเปช (Cyber Space) ซึ่งเป็น ชุมชนที่เชื่อมโยง และติดต่อสื่อสารกันผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศ สังคมในปัจจุบันที่อยู่ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเปิดโอกาศบุคคลให้มีการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม และการสื่อสารสองทาง มีการโต้ตอบซึ่งกันและกัน โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เกิดชุมชนแบบใหม่ที่เรียกว่า ไซเปอร์สเปช (Cyber Space) ซึ่งเป็น ชุมชนที่เชื่อมโยง และติดต่อสื่อสารกันผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศ

ทรัพยากรแบบดั้งเดิมที่ใช้ในเศรษฐกิจ ที่ดิน แรงงาน ทุน องค์ประกอบใหม่ของเศรษฐกิจ สารสนเทศ

การมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ Computer Literacy ความตระหนักและรับรู้ (Awareness) โดยตระหนักถึงความสำคัญ ความหลากหลาย และการแพร่หลายในสังคมของเรา ความรู้ (Knowledge) เรียนรู้ว่าคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร เรียนรู้ศัพท์เทคนิคทางด้านคอมพิวเตอร์ การมีปฎิสัมพันธ์ (Interaction) รู้ว่าจะใช้คอมพิวเตอร์สำหรับงานง่ายๆ อย่างไร

2. เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1 ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับส่ง การจัดเก็บ การเผยแพร่ การแปลงและการสืบค้นข้อมูล ทำให้การประมวลผลข้อมูลนั้นทำได้ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น รวดเร็วขึ้น มีความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ได้มีเพียงแค่คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ทำงานร่วมกันด้วย

องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.2 ข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่ได้จากการรวบรวม ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ หรือเสียง เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล ให้ได้สารสนเทศ สารสนเทศ (Information) คือ สิ่งที่ได้จากการประมวลผลแล้ว ซึ่งในบางครั้งสารสนเทศอาจจะเป็นข้อมูลเพื่อการประมวลผลให้ได้ ข้อสนเทศอีกอย่างหนึ่งก็ได้

Create Control Understand Visualize Communicate

2.3 ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ Sensing เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยเราเก็บข้อมูล จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว และแปลเป็นข้อมูลในรูปแบบที่เราเข้าใจ ตัวอย่างเช่น Image Scanner เช่น บันทึกรูปภาพ ลายนิ้วมือ Sensors เช่น การรับอุณหภูมิ ความร้อน ความเย็น Communication เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยในการสื่อสารเชื่อมโยงสารสนเทศระหว่าง Sensing , Analyzing , Display Fax Cellular Telephones LAN (Local Area Networks)

Analyzing เป็นส่วนของ Hardware และ Software ที่รับข้อมูลมาจาก Sensing , Communication แล้วนำมาประมวลผลหรือวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศนำไปใช้งานได้ ตัวอย่างเช่น การออกแบบพื้นที่ใช้สอยในบ้านให้มีประสิทธิภาพสูงสุด วิเคราะห์สภาพอากาศโลก Display เป็นเครื่องมือและ Software ที่ทำให้ข้อมูลที่ถูกประมวลผลแล้วไปสู่ผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นด้วยการมองเห็น หรือการได้ยิน โดยการนำเอาข้อมูลที่ได้จากการ Sensing , Communication , Analyzing มาแสดง จอภาพ LCD , Color Monitor Virtual Reality Printer

3. ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล 3.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องจักรที่สามารถใส่โปรแกรมสั่งงาน ให้รับข้อมูล ประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ และเก็บสารสนเทศนั้นไว้ใช้งานได้

3.2 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ทางตรง ความรวดเร็ว (Speed) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ความสามารถในการจัดเก็บ (Storage Capability) ประโยชน์ทางอ้อม เพิ่มประสิทธิผล การทำการตัดสินใจ ลดต้นทุน

3.3 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ความเป็นอัตโนมัติ (Self-Acting) ความเร็ว (Speed) ความเชื่อถือ (Reliable) ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate) เก็บข้อมูลจำนวนมาก (Store Massive Amounts of Information) ย้ายข้อมูล (Move Information) ทำงานซ้ำ (Repeatability)

การทำงานของคอมพิวเตอร์ (Overview of Computer System) Mouse Microphone Scanner Keyboard CPU MEMORY (RAM) Printer Speakers Monitor 1. INPUT 2. PROCESSING 3. OUTPUT Obtain Information Enter Data Store Data MODEM Harddisk Diskette Tape 5. COMMUNICATION 4. STORAGE การทำงานของคอมพิวเตอร์ (Overview of Computer System)

4. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ในส่วนของฮาร์ดแวร์ จะมีองค์ประกอบพื้นฐานหลัก ดังนี้ 1. Input devices 2. Processor 3. Output devices 4. Storage

Input: ข้อมูลจะถูกนำเข้าสู่คอมพิวเตอร์เพื่อใช้สำหรับการประมวลผล 1. Input Devices Input: ข้อมูลจะถูกนำเข้าสู่คอมพิวเตอร์เพื่อใช้สำหรับการประมวลผล อุปกรณ์ทั่วไป เช่น Keyboard Mouse Scanner

2. Processor เป็นตัวที่ใช้ประมวลผล บางครั้งเรียก Central Processing Unit (CPU) เป็นศูนย์กลางของกิจกรรมในคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่ในการแปลและทำงานตามสั่งของโปรแกรม สื่อสารกับ input, output, และ storage devices แปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ

หน่วยเก็บข้อมูลชั่วคราว (เลือนหายได้) Primary Storage ใช้ในการเก็บข้อมูลชั่วคราว หลังจากที่ถูกดึงข้อมูลจาก input device ก่อนที่ข้อมูลจะถูกประมวลผล หลังจากที่ถูกประมวลผลและก่อนที่จะปล่อยไปยัง output device หน่วยเก็บข้อมูลชั่วคราว (เลือนหายได้) ข้อมูลในหน่วยความจำหาย ถ้าหากไม่มีไฟฟ้า หรือโปรแกรมถูกปิด

Output เป็นผลลัพธ์จากการประมวลผลโดย CPU 3. Output Devices Output เป็นผลลัพธ์จากการประมวลผลโดย CPU รูปแบบทั่วไปของ Output เช่น ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ และเสียง Screen (monitor) สามารถแสดงข้อความ ตัวเลข รูปภาพ หรือแม้แต่ วิดีโอ ในแบบสี Printer สร้างรายงานที่ถูกพิมพ์ตามที่โปรแกรมสั่ง

4. Storage Secondary Storage ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลระยะยาว แยกต่างหากจากหน่วยความจำ เช่น จานแม่เหล็ก (Magnetic disks) จานแสง (Optical disks) เทปแม่เหล็ก (Magnetic tape)

4.1 Peripheral Devices เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ซึ่งอาจจะเป็น input, output, และ storage devices เช่น Web-cam , Flash Drive เป็นต้น

4.2 ระบบเครือข่าย Networking เครื่องมือพื้นฐาน เช่น : Local Area Network (LAN) Modem Electronic mail

5. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ 1. Personal Computers 2. Notebook Computers 3. Handheld Computers 4. Midrange Computers 5. Mainframes 6. Supercomputers

5.1 Personal Computers ในบางครั้งอาจจะมีชื่อเรียก ที่แตกต่างกัน เช่น Desktop computers , PCs, microcomputers, หรือ home computers สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ Low-end computers Fully-powered personal computers Workstations

ประเภทของ PC Low-end computers เหมาะสำหรับผู้ใช้ในบ้าน ทำงานอย่างเช่น word processing, เกมแบบง่ายๆ , ใช้งานอินเตอร์เน็ต Fully powered computers เหมาะสมสำหรับการใช้งานทางด้านกราฟิก การเขียนโปรแกรม หรือเกมส์ที่เน้นทางด้าน Action Workstations เป็น high-end computers ใช้โดยวิศวกร การทำงานด้านการเงิน graphic designers

5.2 Notebook Computers เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก และน้ำหนักเบา ความสามารถเหมือนกับ desktop computers มี CPU และ หน่วยความจำเหมือนกัน มี Harddisk และ Disk-Drive หรือ CD-ROM drive โดยปกติมีราคาแพงกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับdesktop computers

5.3 Handheld Computers Personal Digital Assistant (PDA) เก็บตารางนัดหมาย , รายชื่อ เป็นต้น รับข้อมูลเข้าด้วย stylus บนหน้าจอ Touch Screen Pocket PC มีความสามารถเหมือน PDA โดยเพิ่มความสามารถในการรันโปรแกรมที่ย่อขนาดลงอย่างเช่น word และ Excel

5.4 Midrange Computers ถูกออกแบบสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์หลายๆ คน เพื่อรองรับความต้องการสำหรับองค์กรขนาดกลาง มีผู้ใช้หลักร้อย หรือหลักพัน เข้ามาติดต่อ ใช้สำหรับ การดูแลสินค้าคงคลัง การสั่งซื้อสินค้า และระบบงานอื่นที่ใช้ในบริษัท

5.5 Mainframes เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่และมีความสามารถสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้เป็น พันล้านคำสั่งต่อวินาที สามารถจัดการกับ ข้อมูลได้หลายพันล้านตัวอักษร บ่อยครั้งใช้สำหรับงานที่มีผู้ใช้หลายคน ระบบการจอง เช่น จองตั๋วเครื่องบิน ระบบส่งจดหมายตามบ้าน (มีลูกค้าเป็นจำนวนมาก) การส่งบิล E-mail servers

5.6 Supercomputers เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทรงพลังมีความสามารถมากที่สุดและทำงานได้รวดเร็วที่สุด สามารถประมวลผลคำสั่ง ได้เป็นล้านๆ คำสั่ง ต่อวินาที ถูกใช้สำหรับงานที่มีความซับซ้อนสูง ที่ต้องการรวบรวมและประมวลผลข้อมูลจำนวนมากๆ การพยากรณ์อากาศ การวิจัยทางด้านอาวุธ งาน Special effects ในภาพยนตร์