การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
Advertisements

Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
. COE : โปรแกรมบริการจัดการอู่ซ่อมรถยนต์
BC 423 Systems Analysis and Design อ. พนิดา ตันศิริ ต่อ 1648 Grading Criteria 1.Mid-term Exam40 % 2. Final.
BC423 Systems Analysis and Design อ. พนิดา ตันศิริ ต่อ 1640
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
แบบฝึกหัด DataFlow Diagram
วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงบริการ
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Systems Analysis and Design
กรณีศึกษา : โรงแรมช่ออินทนิล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
System Analysis and Design
5 V > System Analysis (การวิเคราะห์ระบบ) Information Technology
5 V > System Analysis (การวิเคราะห์ระบบ) Information Technology
การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
ขั้นตอนการเขียนปัญหาพิเศษ
บทที่ 5 แบบจำลองระบบ System Model.
แบบจำลองกระบวนการ (Process Modeling)
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
Database Management System
การนำเสนอข้อมูล ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การวิเคราะห์ (Analysis)
Information Systems Development
การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design) โดย อ.ประจักษ์ เฉิดโฉม.
ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
Road to the Future - Future is Now
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
BC423 Systems Analysis and Design
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
Information System Development
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 3 การวิเคราะห์ (Analysis)
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
บทที่ 5 แบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
7 Entity-Relationship Modeling แผนภาพความสัมพันธ์ ORACLE MS SQL SERVER
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
Chapter 6 Information System Development
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ข้อกำหนดความต้องการซอฟต์แวร์ (Software Requirements Specification)
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
DFD Data Flow Diagram Terminator Process Process Store Store
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ (Software Process)
ขั้นตอน ที่ 2 การวิเคราะห์ระบบ
Introduction to Structured System Analysis and Design
โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน เดิมที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน เพื่อจะได้ทราบถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานปัจจุบัน และทำการสร้าง แบบจำลองเชิงตรรกะ (Logical Model) ใหม่ซึ่งเป็น แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) ที่แสดงถึงกระบวนการ (Process) และข้อมูล (Data) ที่เกี่ยวข้องภายในระบบ

โดยในส่วน การวิเคราะห์ระบบงานเดิมที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันมีสิ่งที่จะต้องทำ 4 ประการ คือ ศึกษาความต้องการของผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานหรือความต้องการระบบ (System requirements) ศึกษาการทำงานของระบบปัจจุบัน (existing system study; AS IS system) จำแนกปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบปัจจุบัน (problem identification) พัฒนาเค้าโครงของระบบงานใหม่ (new system idea and concept; TO BE system)

ในการพัฒนาระบบนั้นเราจะต้องกำหนดความต้องการของผู้ใช้ในเรื่องต่อไปนี้ ต้องค้นหาว่าผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานต้องการให้ระบบทำงานในลักษณะใด ค้นหาว่าผู้ใช้ต้องการจะให้ระบบทำงานได้มาก น้อยเพียงไร หรือต้องการให้ระบบทำอะไรได้บ้าง ความต้องการเชิงสารสนเทศ ต้องทราบว่าผู้บริหาร หรือผู้ใช้ ต้องการข้อมูลและ สารสนเทศด้านใดบ้าง

แผนภาพกระแสข้อมูล เป็นแบบจำลองเชิงตรรกะ มุ่งเน้นถึงระบบว่าต้องทำอะไร? ผู้เกี่ยวข้องจะใช้ประโยชน์จากแผนภาพกระแสข้อมูลดังนี้ มุมมองของผู้ใช้งาน ใช้แผนภาพฯ เพื่อแสดงภาพรวมของระบบ มุมมองของโปรแกรมเมอร์ ใช้แผนภาพฯ เพื่อแสดงรายละเอียดและใช้เป็นแนวทางพัฒนา โปรแกรม มุมมองของนักวิเคราะห์ระบบ ใช้แผนภาพฯ เพื่อแสดงภาพรวมของระบบ และรายละเอียด ของระบบ

การใช้แผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow diagram) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนภาพที่ได้จากการ วิเคราะห์ระบบ และเป็นเครื่องมือแสดงถึงทิศทางการ ส่งผ่านข้อมูลในระบบ แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องภายในระบบ แสดง การส่งผ่านข้อมูลนำเข้าและข้อมูลนำออก และ ขั้นตอนการทำงานของระบบ เป็นการแสดงการทำงาน ของระบบ โดยไม่อธิบายถึงขั้นตอนและวิธีการในการ ประมวลผล

ประโยชน์ในการใช้แผนภาพกระแสข้อมูล ใช้ได้อย่างอิสระในการวิเคราะห์ระบบโดยไม่ต้องมีเทคนิคอื่นมาช่วย สามารถใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนสิ่งที่วิเคราะห์มา สื่อที่ง่ายต่อการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อยกับ ระบบใหญ่ ช่วยให้การวิเคราะห์เป็นไปได้โดยง่าย และมีความเข้าใจตรงกันระหว่าง ผู้วิเคราะห์ระบบเอง หรือระหว่างผู้วิเคราะห์กับโปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู้วิเคราะห์กับผู้ใช้ระบบ จะเห็นถึงข้อมูล และขั้นตอนต่างๆ เป็นแผนภาพการไหลของข้อมูล (Data flow diagram)

สัญลักษณ์สร้างแผนภาพกระแสข้อมูล (DFD Symbols: DFDs)

วิธีการเขียนแผนผังในรูปแบบที่ ถูกต้อง External Entity  Process Process  External Entity Process  Process Process  Data Store Data Store  Process ถ้าเป็นข้อมูล ตัวเดียวกัน ถ้าเป็นข้อมูล คนละตัว

วิธีการเขียนแผนผังในรูปแบบที่ ผิด External Entity  External Entity External Entity  Data Store Data Store  External Entity Data Store  Data Store ถ้าเป็นข้อมูล คนละตัว

แผนภาพระดับสูงสุด (Context Diagrams) แสดงถึงขอบเขตของระบบสารสนเทศนั้น โดยจะเป็นมุมมอง ระดับสูง (top-Level) ซึ่งจะไม่แสดงถึงสัญลักษณ์การเก็บ ข้อมูล (Data store Symbol) เพราะจะเป็นการเขียนถึงภาย ในระบบ แต่จะเขียนเชื่อมต่อกันของสัญลักษณ์สิ่งที่อยู่นอก ระบบ (External Entity) กับสัญลักษณ์การประมวลผล (Process)

แผนภาพระดับสูงสุด (Context Diagrams) HR รหัสพนักงาน ราคา ส่วนลด Admin ข้อมูลสินค้า ที่สั่งซื้อ ระบบบริการ ขายสินค้าราคาพิเศษ ให้กับพนักงาน เอกสารคำสั่งซื้อ ที่อนุมัติแล้ว ข้อมูลการสั่งซื้อ พนักงาน

ฝึกการอ่าน Context Diagram

แผนภาพระดับ 0 (DFD Level 0) เป็นโครงสร้าง แตกให้เห็นรายละเอียดภายในกระบวนการ ทำงานของแผนภาพการไหลของข้อมูลระดับบน โดยมี หลักเกณฑ์การสร้างเหมือนการสร้างแผนภาพการไหล ของข้อมูลระดับบน และเพิ่มเติมกฎเกณฑ์ดังนี้ ให้ตั้งชื่อกระบวนการ 1 กระบวนการ เป็นชื่อเดียวกัน ตลอดทั้งระบบ ไม่ควรลากเส้นการไหลของข้อมูล ตัดกัน ลำดับหมายเลขกระบวนการ ต้องไม่ซ้ำกัน หมายถึง ต่างกระบวนการ ได้ลำดับต่างกัน และลำดับย่อยลงไปเรื่อยๆ ตามระดับของแตกรายละเอียด

ฝึกการอ่าน DFD Level 0

DFD Level 1

ฝึกการอ่าน Context Diagram

การสร้าง DFD ด้วย Microsoft Visio

การสร้าง DFD ด้วย Microsoft Visio

การสร้าง DFD ด้วย Microsoft Visio

การสร้าง DFD ด้วย Microsoft Visio

การสร้าง DFD ด้วย Microsoft Visio

การสร้าง DFD ด้วย Microsoft Visio