บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
บทที่ 6 งบประมาณ.
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
1.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 7 งบประมาณ.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงิน 1. ฝ่ายบริหาร 2. ผู้ลงทุน
การบริหารโครงการ Project Management
ACCOUNTING FOR INVENTORY
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การบริหารงานคลังสาธารณะ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
บทที่ 9 นโยบายเงินปันผล และ ทฤษฎีเงินปันผล.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การวิเคราะห์งบการเงิน
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY) ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน

การจ่ายเงินปันผลกับกำไรสะสม แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายเงินปันผล เงินปันผล (dividend) หมายถึง เงินสด สินทรัพย์อื่นๆ หรือหุ้นของบริษัทเองที่บริษัทจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการแบ่งกำไร นโยบายเงินปันผล หมายถึง นโยบายที่ฝ่ายบริหารของธุรกิจใช้ในการตัดสินใจเพื่อจัดสรรผลกำไรของธุรกิจให้แก่ผู้ถือหุ้นในรูปแบบของเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลกับกำไรสะสม แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายเงินปันผล 1. การจัดสรรผลกำไร 2. การสะสมกำไรในรูปของกำไรสะสม

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อนโยบายเงินปันผล 1. สภาพคล่องทางการเงิน 2. ความสามารถในการกู้ยืม 3. ข้อจำกัดในสัญญากู้ยืม 4. ข้อกำหนดทางกฎหมาย 5. เสถียรภาพของกำไร 6. ความจำเป็นในการชำระหนี้ 7. อำนาจในการควบคุม 8. ฐานะการจ่ายภาษีของผู้ถือหุ้น 9. ภาวะเงินเฟ้อ 10. อัตราการขยายตัวของสินทรัพย์ 11. โอกาสในการลงทุน 12. ขนาดของธุรกิจ

ประเภทของนโยบายเงินปันผล อัตราการจ่ายเงินปันผลคงที่ (constant dividend payout ratio) ตัวอย่างที่ 13.1 บริษัท รักบ้านเกิด จำกัด ปี กำไรสุทธิ (บาท) กำไรต่อหุ้น (บาท) 25X1 200,000 20 25X2 300,000 30 25X3 500,000 50 25X4 400,000 40 25X5 600,000 60 25X6

เงินปันผลต่อหุ้น (กำไรต่อหุ้น x 50%) คำนวณเงินปันผลต่อหุ้นแต่ละปี ปี เงินปันผลต่อหุ้น (กำไรต่อหุ้น x 50%) 25X1 20 X 50% = 10 บาท 25X2 30 X 50% = 15 บาท 25X3 50 X 50% = 25 บาท 25X4 40 X 50% = 20 บาท 25X5 25X6 60 X 50% = 30 บาท

จำนวน (บาท) 25X1 25X3 25X4 25X5 25X6 25X2 10 20 30 40 50 60 ปี กำไรต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น ภาพที่ 13.1 แสดงนโยบายเงินปันผลประเภทอัตราการจ่ายเงินปันผลคงที่

เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) 2. จำนวนเงินปันผลจ่ายต่อหุ้นคงที่ (stable dividend per share) ตัวอย่างที่ 13.2 ปี กำไรสุทธิ (บาท) กำไรต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) 25X1 200,000 20 25X2 300,000 30 25X3 500,000 50 25X4 400,000 40 25X5 600,000 60 25X6

จำนวน (บาท) 10 20 30 40 50 60 ปี กำไรต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น 25X1 25X2 25X3 25X4 25X5 25X6 ภาพที่ 13.2 แสดงนโยบายเงินปันผลประเภทจำนวนเงินปันผลจ่ายต่อหุ้นคงที่

เงินปันผลต่อหุ้น(บาท) เงินปันผลเพิ่มพิเศษต่อหุ้น (บาท) 3. เงินปันผลปกติ (น้อย) บวกกับส่วนที่เพิ่มพิเศษ (small, regular dividend plus a year end extra) ตัวอย่างที่ 13.3 ปี กำไรต่อหุ้น(บาท) เงินปันผลต่อหุ้น(บาท) เงินปันผลเพิ่มพิเศษต่อหุ้น (บาท) รวมเงินปันผล(บาท) 25X1 20 - 25X2 30 6(10x0.060) 26 25X3 50 12(20x0.060) 32 25X4 40 25X5 60 12(20x0.06) 25X6

25X1 25X3 25X4 25X5 25X6 25X2 10 20 30 40 50 60 ปี จำนวน (บาท) กำไรต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น ภาพที่ 13.3 แสดงนโยบายเงินปันผลประเภทเงินปันผลปกติบวกส่วนเพิ่มพิเศษ

เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) อัตราเงินปันผล (%) (เป้าหมาย 60%) 4. อัตราการจ่ายเงินปันผลตามเป้าหมาย (target payout ratio) ตัวอย่างที่ 13.4 ปี กำไรต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) อัตราเงินปันผล (%) (เป้าหมาย 60%) 25x1 20 4 20(4÷20) 25x2 30 9 30(9÷30) 25x3 40 16 40(16÷40) 25x4 50 60(30÷50) 25x5 60 36 60(36÷60) 25x6 70 42 60(42÷70)

จำนวน (บาท) 25X1 25X3 25X4 25X5 25X6 25X2 10 20 30 40 50 60 ปี กำไรต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น 70 ภาพที่ 13.4 แสดงนโยบายเงินปันผลประเภทกำหนดเป้าหมายของอัตราเงินปันผล

ขั้นตอนในการจ่ายเงินปันผล มี 4 ขั้นตอน ขั้นตอนในการจ่ายเงินปันผล มี 4 ขั้นตอน 1. การกำหนดวันประกาศจ่ายเงินปันผล หมายถึง วันที่ คณะกรรมการบริหารของบริษัทประกาศให้มีการจ่ายเงิน ปันผล มีรายละเอียดคือ 1.1 จำนวนเงินปันผลต่อหุ้นที่จะจ่าย 1.2 วันบันทึกทะเบียนรายชื่อของผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิรับเงินปันผลประจำปี 1.3 วันที่จ่ายเงินปันผล

2. การกำหนดวันบันทึกรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินปันผล หมายถึง วันที่บริษัททำการบันทึกปิดการโอนหุ้นเพื่อทำบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิรับเงินปันผล เช่น วันบันทึกรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินปันผลประจำปี 25x8 คือ วันอังคารที่ 11 ม.ค. 25x8

3. การกำหนดวันซื้อขายหุ้นโดยไม่รวมเงินปันผล (ex dividend date) หมายถึงวันที่ทำการซื้อขายหุ้นโดยไม่รวมเงินปันผล ซึ่งสิทธิในการรับเงินปันผลของงวดนั้น จะเป็นของผู้ถือหุ้นคนใหม่ ต่อเมื่อมีการซื้อขายหุ้นก่อนวันบันทึกรายชื่อจำนวน 4 วัน จากข้อ 2. วันบันทึกรายชื่อคือวันที่ 11 ม.ค. 25x8 ดังนั้นวัน ex dividend date คือ วันที่ 7 ม.ค. 25x8

4. การกำหนดวันจ่ายเงินปันผล หมายถึงวันที่บริษัทจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อปรากฎในบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น ที่มีสิทธิได้รับเงินปันผล

วันประกาศจ่ายเงินปันผล วันบันทึกรายชื่อผู้ถือหุ้น วันจ่ายเงิน ปันผล 25 ม.ค. 25x8 11 ม.ค. 25x8 17 ก.พ. 25x8 7 - 10 ม.ค. 25x8 วันชื้อขายหุ้นโดยไม่รวมเงินปันผล

วิธีการจ่ายเงินปันผล การจ่ายเงินสดปันผล ตัวอย่างที่ 13.5

งบดุลก่อนจ่ายเงินปันผล บริษัท ร่ำรวย จำกัด งบดุล ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ 100,000 (100,000 หุ้นๆ ละ 100 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น (หุ้นละ 5 บาท) 50,000 กำไรสะสม 350,000 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,400,000 สินทรัพย์ เงินสด 500,000 สินทรัพย์อื่นๆ 900,000 รวมสินทรัพย์ 1,400,000 (บาท)

งบดุล (ภายหลังการจ่ายเงินปันผล) งบดุลภายหลังจ่ายเงินปันผล 200,000 บาท บริษัท ร่ำรวย จำกัด งบดุล (ภายหลังการจ่ายเงินปันผล) ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ 1,000,000 (100,000 หุ้นๆ ละ 100 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น (หุ้นละ 5 บาท) 50,000 กำไรสะสม 150,000 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,200,000 สินทรัพย์ เงินสด 300,000 สินทรัพย์อื่นๆ 900,000 รวมสินทรัพย์ 1,200,000 (บาท)

ผลกระทบจากการจ่ายเงินสดปันผล 1. เงินสดลดลง จำนวน 200,000 บาท 2. กำไรสะสมลดลง จำนวน 200,000 บาท 3. ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมลดลง จำนวน 200,000 บาท

2. การจ่ายหุ้นปันผล ตัวอย่างที่ 13.6 ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ (10,000 หุ้น ราคามูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) 1,000,000 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น (10,000 หุ้น หุ้นละ 5 บาท) 50,000 บาท กำไรสะสม 350,000 บาท รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,400,000 บาท ต่อมาบริษัท ร่ำรวย จำกัด ได้ประกาศจ่ายหุ้นปันผล 10% ของจำนวนหุ้นสามัญ โดยราคาตลาดหุ้นสามัญขณะนั้นราคาหุ้นละ 125 บาท โครงสร้างของเงินทุนใหม่ภายหลังจากจ่ายหุ้นปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วจะเป็นดังนี้

ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ (11,000 หุ้น ราคามูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) 1,100,000 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น (10,000 หุ้น หุ้นละ 5 บาท) +(1,000 x 25 ) 75,000 บาท กำไรสะสม (350,000 – 125,000) 225,000 บาท รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,400,000 บาท

ผลกระทบจากการจ่ายหุ้นปันผล จำนวนหุ้นสามัญ กำไรต่อหุ้น ราคาตลาดต่อหุ้น เงินปันผลในอนาคต จำนวนรวมส่วนของผู้ถือหุ้น

ข้อดี 1. ช่วยประหยัดเงินสดให้ธุรกิจ ข้อดี 1. ช่วยประหยัดเงินสดให้ธุรกิจ 2. ผู้ถือหุ้นที่มีรายได้สูงเกิดความพึงพอใจ 3. ช่วยให้บริษัทไม่ประสบปัญหาการขาดสภาพคล่อง 4. ทำให้บริษัทมีทุนเพิ่มขึ้น 5. ช่วยรักษาระดับราคาตลาดของหุ้นสามัญให้สูงมากจนเกินไป ข้อเสีย 1. ค่าใช้จ่ายในการจ่ายหุ้นปันผลกว่าการจ่ายเงินปันผล 2. ทำให้กำไรต่อหุ้น (EPS) มีแนวโน้มลดลง 3. ผู้ถือหุ้นอาจได้รับหุ้นปันผลไม่ครบถ้วน

3. การแตกหุ้น ตัวอย่างที่ 13.7 ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ (10,000 หุ้น ราคาที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) 1,000,000 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น (10,000 หุ้น หุ้นละ 5 บาท) 50,000 บาท กำไรสะสม 350,000 บาท รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,400,000 บาท ต่อมาบริษัท ร่ำรวย จำกัด ได้ทำการแตกหุ้นในอัตรา 2 : 1 โครงสร้างของเงินทุนใหม่ภายหลังการแตกหุ้นจะเป็นดังนี้

หุ้นสามัญ (20,000 หุ้น ราคาที่ตราไว้หุ้นละ 50 บาท) 1,000,000 บาท ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ (20,000 หุ้น ราคาที่ตราไว้หุ้นละ 50 บาท) 1,000,000 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 50,000 บาท กำไรสะสม 350,000 บาท รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,400,000 บาท

ผลกระทบจากการแตกหุ้น จำนวนหุ้นสามัญ กำไรต่อหุ้น จำนวนรวมส่วนของผู้ถือหุ้น

4. การซื้อหุ้นกลับคืน ตัวอย่างที่ 13.8 = 128 บาทต่อหุ้น ดังนั้น ราคาตลาดของหุ้นสามัญภายหลังการจ่ายเงินปันผลเพิ่ม = 120+8 เงินปันผลต่อหุ้นเพิ่ม = = 8 บาท = 100,000 บาท กำไรสุทธิคงเหลือจากการจ่ายเงินปันผล = 200,000 x 40% การพิจารณาทางเลือกที่ 1 การนำกำไรสะสมไปจ่ายเงินปันผลเพิ่ม 80,000 10,000

การพิจารณาทางเลือกที่ 2 การนำกำไรสะสมไปซื้อหุ้นกลับคืน การคำนวณก่อนซื้อหุ้นกลับคืน กำไรต่อหุ้นก่อนการซื้อหุ้นกลับคืน = = 20 บาท อัตราส่วนราคาตลาดต่อหุ้นต่อกำไรต่อหุ้น ( P/E ratio) = = = 6 เท่า 200,000 10,000 ราคาตลาดต่อหุ้น กำไรต่อหุ้น 120 20

การคำนวณภายหลังการซื้อหุ้นกลับคืน จำนวนหุ้นสามัญที่ซื้อกลับคืนมาในราคาตลาด = = = 625 หุ้น ดังนั้น จำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้วคงเหลือ = 10,000 – 625 = 9,375 หุ้น กำไรต่อหุ้น (ภายหลังการซื้อหุ้นกลับคืน) = = 21.33 บาท กำไรสุทธิคงเหลือ ราคาตลาดต่อหุ้น 80,000 128 200,000 9,375

ผลกระทบจากการซื้อหุ้นกลับคืน ราคาตลาดของหุ้นสามัญต่อหุ้น (ภายหลังการซื้อหุ้นกลับคืน) = (P/E ratio) x กำไรต่อหุ้น = 6 x 21. 33 = 128 บาท ผลกระทบจากการซื้อหุ้นกลับคืน จำนวนหุ้นสามัญ กำไรต่อหุ้น ราคาตลาดต่อหุ้น จำนวนผู้ถือหุ้นรายย่อยจะลดลง

ในแง่ฝ่ายบริหาร ข้อดี 1. เป็นการชะลอการจ่ายเงินสดปันผล ข้อดี 1. เป็นการชะลอการจ่ายเงินสดปันผล 2. สะดวกกว่าการไปขอจดทะเบียนเพิ่มทุน 3. รักษาอำนาจการควบคุม 4. เมื่อต้องการเงินทุนสามารถนำหุ้นออกจำหน่ายได้ 5. ทำให้โครงสร้างของเงินทุนเปลี่ยนแปลง ข้อเสีย 1. เป็นการหลีกเลี่ยงการเสียภาษี 2. ไม่เป็นการสร้างโอกาสในการลงทุน

ในแง่นักลงทุน ข้อดี 1. ผลประโยชน์ด้านภาษี 2. ประโยชน์จากการขายหุ้น ข้อดี 1. ผลประโยชน์ด้านภาษี 2. ประโยชน์จากการขายหุ้น 3. เป็นการรักษาระดับราคาตลาดของหุ้นที่ออกจำหน่าย ข้อเสีย 1. ราคาตลาดของหุ้น 2. การซื้อหุ้นกลับคืน 3. ด้านภาษี

5. การรวมหุ้น ตัวอย่างที่ 13.9 ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ (100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 50 บาท) 5,000,000 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 500,000 บาท กำไรสะสม 600,000 บาท รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 6,100,000 บาท หุ้นสามัญ (50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) 5,000,000 บาท

ผลกระทบจากการรวมหุ้น จำนวนหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้นภายหลังการรวมหุ้น มูลค่ารวมส่วนของผู้ถือหุ้น

ข้อดี 1. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานจะลดลง 2. สภาพคล่องในการซื้อขายหุ้นอาจจะดีขึ้น 3. ราคาตลาดของหุ้นสูงขึ้น 4. จำนวนผู้ถือหุ้นรายย่อยอาจจะน้อยลง ข้อเสีย 1. อาจทำให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยแปลงหุ้นเก่าเป็นหุ้นใหม่ได้ 2. การซื้อขายหุ้นอาจไม่ได้รับความน่าเชื่อถือ

6. การจ่ายเงินปันผลด้วยวิธีอื่นๆ การจ่ายเงินปันผลด้วยสินทรัพย์ (Property Dividend) การจ่ายเงินปันผลด้วยภาระหนี้สิน (Scrip or Bond Dividend) แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวกับการพิจารณากำหนดนโยบายเงินปันผล นโยบายเงินปันผลไม่มีผลต่อราคาตลาดของหุ้นสามัญ การจ่ายเงินปันผลสูงมีผลทำให้มูลค่าหุ้นเพิ่มสูงขึ้น การจ่ายเงินปันผลต่ำทำให้ราคาหุ้นสูงขึ้น

การพิจารณาในเชิงปริมาณ Walter ‘s Formular ถ้าอัตราตอบแทนที่แท้จริงจากการลงทุนสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตลาดราคาตลาดหุ้นสามัญจะสุงสุด เมื่อธุรกิจนำกำไรทั้งหมดไปลงทุน และงดจ่ายเงินปันผล ถ้าอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงจากการลงทุนต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนของตลาดราคาตลาดของหุ้นสามัญจะสุงสุด เมื่อธุรกิจนำกำไรทั้งหมดไปจ่ายเงินปันผล โดยงดการลงทุนในโครงการใหม่ ถ้าอัตราผลตอบแทนทีแท้จริงจากการลงทุนเท่ากับอัตราผลตอบแทนของตลาดราคาตลาดของหุ้นสามัญจะเท่ากัน ดังนั้น ธุรกิจจะนำกำไรทั้งหมดไปลงทุน หรือนำไปจ่ายเงินปันผลก็ได้

2. Residual Theory สรุป นโยบายเงินปันผลของธุรกิจ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ อัตราการจ่ายเงินปันผลคงที่ จำนวนเงินปันผลจ่ายต่อหุ้นคงที่ เงินปันผลปกติ(น้อย)บวกกับส่วนเพิ่มพิเศษ อัตราการจ่ายเงินปันผลตามเป้าหมาย