Service Plan สาขาแม่และเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
Free Powerpoint Templates Page 1 นพ. เกรียงศักดิ์ พิมพ์ดา ประธานคณะกรรมการฯ.
Service Plan สาขาสูติกรรม
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
Service Plan in Kidney Disease
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
Risk Management System
2.4 ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์เสี่ยง มีการให้บริการตามมาตรฐานภาวะเสี่ยง ได้รับคำแนะนำเรื่องที่มาพบแพทย์ มี high risk clinic
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
How to decrease no ANC & increase early ANC
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
เขตสุขภาพ ที่11.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
ชีวิตหลังจบมหาวิทยาลัย = 0 เล่าให้น้อง ๆ โดยพี่ยักษ์ (จตุพร สวัสดี)
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
พญ.มยุรี ไกรศรินท์ สูตินรีแพทย์ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
อนามัยแม่และเด็กอำเภอ
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การแต่งกายของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานสาธารณสุข
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
PA Mother & Child Health
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
Service Profile หน่วยงาน : ห้องคลอด รพร.เดชอุดม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service Plan สาขาแม่และเด็ก พญ. ฐิติมา ธรรมรงค์กุล

สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2557

การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด

การดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและเครือข่ายมารดาทารก โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การช่วยฟื้นคืนชีพหญิง ตั้งครรภ์ ผู้คลอด และผู้ป่วยทางนรีเวช โครงการพัฒนาการช่วยชีวิตขั้นสูงในทารกแรกเกิด โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการ คลอดก่อนกำหนด

สรุปการดำเนินงาน 2.68 2.42 2.10 1.9

สรุปการดำเนินงาน 22.72 20.28 19.60 40.9

สรุปการดำเนินงาน 3.1 2.3 0.8

แผนพัฒนา 1. พัฒนาเครือข่ายการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บ ครรภ์คลอดก่อนกำหนดและการวางแผนจำหน่าย 2.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การช่วยฟื้นคืนชีพหญิง ตั้งครรภ์ ผู้คลอด และผู้ป่วยทางนรีเวช 3.โครงการพัฒนาการช่วยชีวิตขั้นสูงในทารกแรกเกิด

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 1. ระบบบริการ (service delivery) ANC คุณภาพ 1.สถานที่แยกเป็นสัดส่วน 2.มาตรฐานการบริการ 3. การให้ความรู้ตามหลักสูตร รร.พ่อแม่ และการมีส่วนร่วมของสามีและครอบครัว 4. คลินิกตรวจวินิจฉัยและประเมินสภาพทารกในครรภ์ -PND,Amniocentesis -U/S -FAST 5. High Risk pregnancy clinic รพสต. สายใยรักแห่งครอบครัว 1.บริการ ANC ให้บริการฝากครรภ์ในเชิงรุก 2. การบริการ WCC เชิงรุก 3. มีคลินิกนมแม่ใน รพ.สต. 4. การสร้างภาคีเครือข่ายในชุมชน 

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 1. ระบบบริการ (service delivery) ต่อ ห้องคลอดคุณภาพ 1.การประเมินภาวะเสี่ยงในห้องคลอด 2.การใช้กราฟดูแลการคลอด 3.มีชุดเครื่องมือกู้ชีพของมารดาที่พร้อมใช้ 4.มีทีมบุคลากรสามารถช่วยกู้ชีพมารดา 5.สามารถทำการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหรือทำการส่งต่อได้ทันที 6. การป้องกัน และรักษาภาวการณ์ตกเลือดหลังคลอด 7.มีคลังเลือดที่มีประสิทธิภาพหรือมีระบบเครือข่ายในการหาเลือด 8.มีอัตราส่วนแพทย์และพยาบาลต่อผู้คลอดไม่น้อยกว่า 1 : 3 9.มีการนำลูกให้แม่โอบกอดเนื้อแนบเนื้อและช่วยเหลือให้ลูกได้ดูดนมแม่ โดยดูดนมทันที ภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที และ ดูดนาน 1 ชั่วโมง 10.การส่งต่อมารดาที่เกิดภาวะแทรกซ้อนได้อย่างปลอดภัย 11. เก็บข้อมูล/วิเคราะห์ 12.มีการนำข้อมูลหรือตัวชี้วัดสำคัญของหน่วยงานมาใช้เฝ้าระวังหรือวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน 13.มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในห้องคลอดเพื่อให้การคลอดปลอดภัย 5. การป้องกัน และรักษาภาวการณ์ตกเลือดหลังคลอด 6.มีคลังเลือดที่มีประสิทธิภาพหรือมีระบบเครือข่ายในการหาเลือด 7.มีอัตราส่วนแพทย์และพยาบาลต่อผู้คลอดไม่น้อยกว่า 1 : 3 8.มีการนำลูกให้แม่โอบกอดเนื้อแนบเนื้อและช่วยเหลือให้ลูกได้ดูดนมแม่ โดยดูดนมทันที ภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที และ ดูดนาน 1 ชั่วโมง 9.การส่งต่อมารดาที่เกิดภาวะแทรกซ้อนได้อย่างปลอดภัย 10. เก็บข้อมูล/วิเคราะห์ 11.มีการนำข้อมูลหรือตัวชี้วัดสำคัญของหน่วยงานมาใช้เฝ้าระวังหรือวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน 12.มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในห้องคลอดเพื่อให้การคลอดปลอดภัย

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 1. ระบบบริการ (service delivery) ต่อ หลังคลอดคุณภาพ 1.ดูแลมารดาทารกหลังคลอดปกติ และภาวะแทรกซ้อน 2.ใช้ 13 B ในการดูแลทารกแรกเกิด 3.เฝ้าระวังภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด 4.มี Phototherapy + MB 5.มีบริการคลินิกนมแม่ 6.คัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ในทารกแรกเกิด 7.วัคซีนทารกแรกเกิด 8.โครงการป้องกันการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก (เจาะเลือดทารกแรกเกิด) 9.การให้ความรู้ตามหลักสูตร รร.พ่อแม่ และการมีส่วนร่วมของสามีและครอบครัว รวมถึงให้การปรึกษารายบุคคลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น PPH PIH Teenage เป็นต้น 10.เปิดบริการ sub ICU OBS & GYN เผ้าระวังผู้ป่วยกึ่งวิกฤตทาง OBS & GYN 1.ดูแลมารดาทารกหลังคลอดปกติ 4.มี Phototherapy+MB 9.การให้ความรู้ตามหลักสูตร รร.พ่อแม่ และการมีส่วนร่วมของสามีและครอบครัว

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 1. ระบบบริการ (service delivery) ต่อ WBC คุณภาพ การจัดการบริการสุขภาพเด็กแรกเกิด-5ปีด้วยมาตรฐานใน10กิจกรรมหลัก 1.ซักประวัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด 2.ประเมินการเจริญเติบโต ชั่งนน. วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ 3.ประเมินความเสี่ยงของมารดา ในโรคพันธุกรรม TSH, Thai.,ดาวน์ซินโดรม, โรคหัวใจ และการตั้งครรภ์ไม่พร้อม 4.ประเมินความพร้อมของมารดาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเลี้ยงลูก 5.การคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก พร้อมแนะนำ สอน สอนให้พ่อแม่ผู้ปกครอง ดูแลช่วยเหลือให้ลูกมีพัฒนาการสมวัย 6.มีระบบการส่งต่อเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการล่าช้า 7.ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตามช่วงอายุเช่น ตรวจตา หู 8.ตรวจพิเศษตามช่วงอายุ เช่นการวัดความดันโลหิต ภาวะซีด 9.ให้วัคซีนตามช่วงอายุ และสังเกตอาการผิดปกติหลังการให้ 30นาที 10.ให้ความรู้ตามแนวทางรร.พ่อแม่และการใช้สมุดบันทึกสุขภาพ 11.การให้บริการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 12.การจ่ายยาวิตามินเสริมธาตุเหล็ก 13.สัดส่วนผู้ให้บริการต่อผู้รับบริการ 1:10-15

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 2.กำลังคนด้านสุขภาพ (workforce) สูติแพทย์ 8-10 คน แพทย์เวชศาสตร์มารดาทารก 1 คน กุมารแพทย์ 8 คน วิสัญญีแพทย์ 5 คน พยาบาลวิสัญญี 10 คน พยาบาลฝากครรภ์ 4 คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 1 คน ห้องคลอดเพิ่มจำนวนพยาบาลอีก 4 คน พยาบาลหลังคลอดเพิ่ม พยาบาล 4 คนเพื่อ รองรับ sub ICU OBS &GYN พัฒนาสมรรถนะพยาบาล ฝากครรภ์ ห้องคลอด หลังคลอด -อบรมพยาบาลเฉพาะทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงคลอด ทารกแรกเกิด และวิกฤตทางสูติกรรม ปีละ 1-2 คน -อบรม Advance breast feeding ปีละ 1 ราย -อบรม Nurse case management สำหรับรองรับ sub ICU ปีละ 1 ราย -พัฒนาตาม Training Need , IDP แพทย์เวร 1 คน พยาบาลฝากครรภ์ 3 คน ห้องคลอด พยาบาลวิชาชีพ 2 คน ต่อเวร -แพทย์ พยาบาลคลินิกฝากครรภ์และพยาบาลห้องคลอดได้รับการอบรม พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 3.ระบบข้อมูลข่าวสาร(Information Technology) รายงานข้อมูลระดับจังหวัด รายงาน ก 2 ข้อมูล refer in-out -สถิติการคลอดและภาวะแทรกซ้อน -ผลลัพธ์ตัวชี้วัดที่สำคัญเช่น BA, PPH,LBW การตายมารดาและทารก, breast feeding -ผลลัพธ์ตัวชี้วัดที่สำคัญเช่น BA, PPH,LBW การตายมารดาและทารก รายงาน ก 2 รายงานการฝากครรภ์คุณภาพและ early ANC

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 4.เทคโนโลยีทางการแพทย์(Drug & Equipment) -ห้องคลอด เพิ่ม pipe line เป็น10จุด -ห้องผ่าตัดมาตรฐาน -เครื่องมือผ่าตัด + เครื่องมือดมยา -ชุดอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ ทารกแรกเกิดและมารดา NIBP + EKG Infusion pump PP 3เครื่อง LR 3เครื่อง -ระบบธนาคารเลือด -หน่วยจ่ายกลาง -3D/4D Ultrasound -Ultrasound -Vacuum , Forceps -Doptone -Multiple dip stick -Calcium, Ferous, Iodine, Folic - เครื่องมือและอุปกรณ์คลินิกฝากครรภ์และห้องคลอดมาตรฐาน -เครื่อง NST -Calcium -Ferrous -Iodine -Folic -Vacuum

แผนพัฒนา โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (P) 5. ค่าใช้จ่าย(Financing) 6..ผู้นำ (Governance) 6+.การมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation) -เงินบำรุง เงินงบประมาณ -งบservice plan คณะกรรมการพัฒนางานสาขาอนามัยแม่และเด็ก เครือข่ายดูแลภาคประชาชน อสม /อปท ,องค์กรอิสระ ,พมจ. ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว อสม. อสน. อปท.

แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการ (Service plan) โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่งานอนามัยแม่และเด็ก อบรมพยาบาลเฉพาะทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงคลอด ทารกแรกเกิด และวิกฤตทางสูติกรรม อบรมฝึกทักษะเฉพาะทางด้านสูตินรีเวช ของสูติแพทย์ ประชุม/อบรมวิชาการงานอนามัยแม่และเด็ก โครงการพัฒนาเครือข่ายการดูแลแม่และเด็ก จ.แพร่ โครงการอบรมช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่และทารกแรกเกิด