สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ
Advertisements

HPSM SP MFE GPI Center of Excellence on Petrochemical and Materials Technology 7th floor, Chulalongkorn University Research Building, Soi Chula 12, Phayathai.
International Health Regulation in Border Area Practical context Muk-SVK- QT 2nd June, 2014 Pasakorn Akarasewi.
บทที่ 3 เครดิตและการให้สินเชื่อของธนาคาร CREDIT FROM COMMERCIAL BANK
การพัฒนาการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพหนึ่งเดียว
AREE THATTIYAPHONG Ph.D. NIH, DMSc. 31 July 2014 Cholchon Hotel, Chonburi Technology for laboratory diagnosis.
ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ใน สถานการณ์ภัยพิบัติ Medical Emergency Response Team Pairoj Khruekarnchana, MD. 1. Rajavithi Hospital under Department.
Situation of Zika virus infection in Thailand
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
Publication News in Social Media
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
เทคนิคการสืบค้นเบื้องต้นโดยใช้ Google
โดย ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว1, ดร. พงษ์ศักดิ์ ฮุ่นตระกูล2
สถานการณ์การผลิตและการตลาด พืชตระกูลถั่ว
1-3 ไวรัสคอมพิวเตอร์ 1.
การดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
บทที่ 17 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
อนุสัญญาของสหประชาชาติด้านสิทธิมนุษยชน
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS)
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
KM Day กองแผนงาน ระบบแผนงาน Online 12 กันยายน 2557
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
การโคลนยีน หรือ การโคลน DNA (Gene cloning and DNA cloning)
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนา และงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
กฎหมายธุรกิจ : สัญญาตั๋วเงิน
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
Selecting Research Topics for Health Technology Assessment 2016
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
Animal Health Science ( )
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
SERVICE MARKETING การตลาดบริการ • ความหมายของการบริการ • ความสำคัญของการบริการ • ความแตกต่างระหว่างสินค้าและการบริการ • ประเภทธุรกิจบริการ.
แผนกำลังคนหน่วยบริการในระดับตติยภูมิ
หลักของเลอชาเตอลิเอ Henri Le Châtelier ( ), a French chemist, formulated a principle that serves as a useful qualitative guide to equilibrium.
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
Philip B. Crosby ( ฟิลลิป ครอสบี ).
โดย ศาสตราจารย์ระพีพรรณ คำหอม
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
My name is Nichada Boonchid.
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
โปรแกรม Thai cancer based Version 6.0
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค สถานการณ์ และการดำเนินงาน เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสซิกา 11 กุมภาพันธ์ 2559 สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา องค์ความรู้ โรคติดเชื้อไวรัสซิกา เกิดขึ้นโดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค พบครั้งแรกที่ประเทศอูกานด้า เมื่อปี พ.ศ.2490 ในลิง พบมีการติดต่อในคนตั้งแต่ พ.ศ. 2495 ในประเทศ อูกานด้า สาธารณรัฐทานซาเนีย และมีรายงานพบการระบาดของโรคไข้ซิกา ในพื้นที่ของทวีปแอฟริกา เอเชีย หมู่เกาะแปซิฟิกและอเมริกา ประเภทของเชื้อ : Flavivirus พาหะนำโรค : ยุงลาย การแพร่เชื้อ : สามารถแพร่เชื้อช่องทางหลักโดยยุงลายที่มีเชื้อ และไปกัดคน และช่องทางอื่นๆ ที่เป็นไปได้ เช่น แพร่ผ่านทางเลือด แพร่จากมารดาที่ป่วยสู่ทารกในครรภ์ และเพศสัมพันธ์ (โอกาสเกิดได้น้อย)

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา องค์ความรู้ อาการของโรค - ระยะฟักตัว ของโรคไข้ซิกา ใช้เวลาประมาณ 3 - 12 วัน (เฉลี่ย 4 – 7 วัน) - อาการของโรคไข้ซิกา คล้ายกับโรคที่เกิดจาก อาร์โบไวรัส (Arbovirus) ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะนำโรค เช่น โรคไข้สมองอักเสบ โรคไข้เหลือง และโรคไข้เลือดออก เป็นต้น โดยมีอาการ ไข้ มีผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ อาการเหล่านี้ปกติแล้วจะเป็นเพียงเล็กน้อย และอาการจะเป็นอยู่ประมาณ 2 - 7 วัน

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา องค์ความรู้ การรักษาโรค ขณะนี้ยังไม่มียาที่ใช้รักษาจำเพาะ และยังไม่มีวัคซีนในการป้องกัน ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง จึงสามารถรักษาตัวได้โดยการพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำมากๆ รักษาตามอาการ เช่น ใช้ยาลดไข้ หรือยาบรรเทาอาการปวด แนะนำให้รับประทานยาพาราเซตามอล ห้ามรับประทานยาแอสไพริน หรือยากลุ่มลดอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) หากอาการไม่ดีขึ้น ผู้ป่วยควรปรึกษา และทำตามคำแนะนำของแพทย์

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา องค์ความรู้ การวินิจฉัย การตรวจวินิจฉัยไวรัสซิกาทางห้องปฏิบัติการทำได้โดยการตรวจสารพันธุกรรมด้วยวิธี Real-time PCR (Polymerase chain reaction) และการแยกเชื้อไวรัสจากตัวอย่างเลือดของผู้ป่วย โดยสามารถส่งตัวอย่างเพื่อตรวจสารพันธุกรรมได้ที่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเครือข่ายทางห้องปฏิบัติการ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันบำราศนราดูร

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา สถานการณ์ ต่างประเทศ การแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาทั่วโลก ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา สถานการณ์ ต่างประเทศ ประเทศที่พบผู้ติดเชื้อไวรัสซิกา ข้อมูล ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2558 – 8 กุมภาพันธ์ 2559 ที่มา : ECDC ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา สถานการณ์ ต่างประเทศ องค์การอนามัยโลกภูมิภาคอเมริกาใต้ และแคริบเบียน มีรายการรายงานข้อมูล ตั้งแต่ปี 2558 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2559 พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไข้ซิกาใน 26 ประเทศ ดังนี้ ประเทศบาร์เบโดส สาธารณรัฐโบลิเวีย สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล สาธารณรัฐโคลอมเบีย สาธารณรัฐเอกวาดอร์ สาธารณรัฐเอลซัลวาดอร์ ดินแดนเฟรนช์เกียนา ดินแดนกัวเดอลุป สาธารณรัฐกัวเตมาลา สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา สาธารณรัฐเฮติ สาธารณรัฐฮอนดูรัส เกาะมาร์ตีนิก สหรัฐเม็กซิโก สาธารณรัฐปานามา สาธารณรัฐปารากวัย เครือรัฐเปอร์โตริโก เกาะเซนต์มาร์ติน สาธารณรัฐซูรินาเม สาธารณรัฐเวเนซูเอลา สาธารรัฐครอสตาริกา เกาะกือราเซา สาธารณรัฐโดมินิกัน ประเทศจาไมกา หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน สาธารณรัฐนิการากัว ที่มา : องค์การอนามัยโลก ภูมิภาคอเมริกา ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา สถานการณ์ ต่างประเทศ สถานการณ์ทั่วโลกในปี 2559 ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 องค์การอนามัยโลก รายงานพบผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ทั้งสิ้น 36 ราย จาก 17 ประเทศ ได้แก่ ดินแดนเฟรนช์เกียนา / เกาะมาร์ตีนิก / เครือรัฐเปอร์โตริโก / สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา / ประเทศบาร์เบโดส / สาธารณรัฐเอกวาดอร์ / สาธารณรัฐโบลิเวีย / สาธารณรัฐเฮติ / เกาะเซนต์มาร์ติน / ดินแดนกัวเดอลุป / สาธารณรัฐโดมินิกัน / หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน / สาธารณรัฐครอสตาริกา / เกาะกือราเซา / ประเทศจาไมกา / สาธารณรัฐนิการากัว / สาธารณรัฐมัลดีฟส์ ที่มา : องค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559

สถานการณ์ ต่างประเทศ องค์การอนามัย โลก วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 องค์การอนามัยโลกจัดการประชุมคณะกรรมการฉุกเฉิน ภายใต้กฎอนามัยระหว่างประเทศ (2005) เพื่อพิจารณาสถานการณ์และความเสี่ยง จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในภูมิภาคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน ซึ่งต่อมาผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่า “ การเกิดกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด และผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท ที่มีรายงานจากประเทศบราซิล ซึ่งเกิดต่อเนื่องจากกลุ่มผู้ป่วยลักษณะอย่างเดียวกันในหมู่เกาะภูมิภาคโพลินีเซียของประเทศฝรั่งเศส (French Polynesia) ในปี ค.ศ. 2014 เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) โดยภาวะดังกล่าวอาจมีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อไวรัสซิกา” “The Committee found no public health justification for restrictions on travel or trade to prevent the spread of Zika virus.”

ความเคลื่อนไหวใน ต่างประเทศ ประเทศบราซิล วันที่ 27 มกราคม 2559 รัฐบาลบราซิลระดมกำลังทหารออกรณรงค์ให้ประชาชนทั่วประเทศทราบถึงอันตรายของโรคไข้ซิก้า พร้อมให้คำแนะนำถึงวิธีปราบยุงลาย ต้นตอของการแพร่ระบาด

ความเคลื่อนไหวใน ต่างประเทศ ประเทศโคลอมเบีย รัฐบาลโคลอมเบียเตือนให้สตรีชะลอการตั้งครรภ์ออกไป 6-8 เดือนข้างหน้า รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับเชื้อไวรัสชนิดนี้และวิธีป้องกัน นอกจากนั้น ยังเร่งกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะ ตามบ้านเรือน และสถานที่ต่างๆ ทั่วเมือง

ความเคลื่อนไหวใน ต่างประเทศ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดี Barack Obama ประชุมติดตามสถานการณ์ซิกาไวรัส ที่ทำเนียบขาว ในวันที่ 26 มกราคม 2559

ความเคลื่อนไหวใน ต่างประเทศ ประเทศสหรัฐอเมริกา ในเดือน มกราคม 2559 USCDC ออกประกาศเตือนภัยระดับที่ 2 (สีเหลือง) คือ มีความเสี่ยงต่อการติดโรคสูงขึ้นกว่าปกติ สำหรับผู้ที่จะเดินทางเข้าไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค ถ้าจะเดินทางต้องมีการศึกษาข้อมูลการป้องกันการติดโรค และถ้าเป็นหญิงมีครรภ์ ควรเลื่อนการเดินทางไปก่อน

ความเคลื่อนไหวใน ต่างประเทศ ประเทศอังกฤษ รัฐบาลอังกฤษ ได้มีการแจ้งข้อมูลโรคติดเชื้อไวรัสซิกาผ่านเว็บไซต์และมีการประกาศมาตรการการป้องกัน รวมถึงมีคำแนะนำสำหรับหญิงตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังประเทศที่มีการระบาดไปก่อน

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา สถานการณ์ ประเทศไทย ประเทศไทย พบผู้ป่วยโรคไข้ซิกาครั้งแรกในปี พ.ศ.2555 ข้อมูลเมื่อสิ้นปี พ.ศ.2558 มีผู้ป่วยยืนยันเฉลี่ยปีละ 5 ราย โดย พบการติดเชื้อกระจายทุกภาค ผู้ป่วยส่วนใหญ่ มีอาการไม่รุนแรง โดยมีอาการไข้ มีผื่น ตาแดง หรือปวดข้อ ในปี พ.ศ.2559 มีการรายงานพบผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในประเทศไทย 1 ราย เมื่อเดือนมกราคม ขณะนี้ได้รักษาจนหายเป็นปกติแล้ว ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา ความเสี่ยงในประเทศไทย การแพร่เชื้อในประเทศไทย มีความเป็นไปได้เล็กน้อยถึงปานกลาง โดยอาจมีผู้ติดเชื้อทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ รวมถึงอาจมีผู้ติดเชื้อจากประเทศไทยเดินทางไปต่างประเทศ อย่างไรก็ตามโรคนี้มีอาการไม่รุนแรง ยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ อาจส่งผลให้ทารกเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด (Microcephaly) หรือมีภาวะแทรกซ้อนด้านระบบประสาท

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา คำแนะนำ สำหรับประชาชนทั่วไป การป้องกัน และการควบคุมโรค ขึ้นอยู่กับการลดจำนวนของยุงตามแหล่งต่างๆ การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ รวมถึงการป้องกันตนเองไม่ให้โดนยุงกัด ซึ่งสิ่งนี้สามารถทำได้โดย ใช้ยากำจัดแมลง หรือ ยาทาป้องกันยุง การสวมใส่เสื้อผ้าเนื้อหนาสีอ่อนๆ ที่สามารถคลุมผิวหนังและร่างกายได้ อาศัย และนอนในห้องปรับอากาศ ใช้ฉากกั้น การปิดประตู ปิดหน้าต่าง การใช้มุ้ง การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดย การทำความสะอาด การเทน้ำทิ้ง หรือครอบฝาภาชนะที่สามารถบรรจุน้ำ เช่น กระถางต้นไม้ เพื่อไม่ให้มีน้ำขังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา คำแนะนำ สำหรับผู้เดินทางที่จะเดินทางไปประเทศที่มีการระบาดของโรคไข้ซิกา สำหรับผู้เดินทางไปประเทศที่มีการระบาดของโรคไข้ซิกา ขอให้ผู้เดินทางระมัดระวังป้องกันไม่ให้ยุงกัด โดยสวมเสื้อแขนยาว กางเกงขายาวให้มิดชิด และใช้ยาทาป้องกันยุงกัด หากเป็นหญิงตั้งครรภ์ ควรหลีกเลี่ยง การเดินทางไปยังประเทศที่มีรายงานการระบาด แต่หากจำเป็นต้องเดินทางไปประเทศดังกล่าวควรปรึกษาแพทย์ และระมัดระวังมิให้ถูกยุงกัด ถ้ามีอาการไข้ ออกผื่น ตาแดง หรือปวดข้อ อาจมีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้ได้ สามารถเข้ารับการรักษา และรับคำปรึกษาได้ที่คลิกนิกเวชศาสตร์การท่องเที่ยว และการเดินทาง สถาบันบำราศนราดูร โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และโรงพยาบาลของรัฐทุกแห่ง

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา มาตรการป้องกันควบคุมโรคของ ประเทศไทย พัฒนาการเฝ้าระวังโรค ทั้งด้านระบาดวิทยา กีฏวิทยา การติดตามภาวะพิการแต่กำเนิด และความผิดปกติ ทางระบบประสาท ขยายการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการให้มีความครอบคลุมทั่วถึง ทบทวนแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย เร่งรัดการป้องกัน และควบคุมโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งการควบคุมยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค พัฒนาการสื่อสารให้คำแนะนำประชาชน เพื่อการป้องกันโรค

ตัวอย่างสื่อประชาสัมพันธ์

ตัวอย่างการดำเนินงานของกระทรวง สาธารณสุข จัดประชุมปรึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษาด้านวิชาการ เรื่องโรคติดเชื้อไวรัส ซิกา เพื่อเตรียมการเฝ้าระวัง และหารือมาตรการในการป้องกันควบคุมโรค จัดทำประกาศกรมควบคุมโรค เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เมื่อวันที่ 22 ม.ค. 2559 เพื่อแจ้งเจ้าหน้าที่ และประชาชน ให้ทราบถึงสถานการณ์ และองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 2 ฉบับ คือ 1.) ประกาศเพิ่มเติมรายชื่อโรคติดต่อ และอาการสำคัญ 2.) ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสซิกาเป็นโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2523 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา การดำเนินงานของกระทรวง สาธารณสุข เผยแพร่ข้อมูลโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ให้แก่บุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข และประชาชนทั่วไปผ่านเว็บไซต์สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ / กรมควบคุมโรค / กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์จัดประชุม พิจารณาการจัดทำแนวทางการวินิจฉัยดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสซิกา

สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร 1422 สามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เว็บไซต์สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ http://beid.ddc.moph.go.th/ เว็บไซต์กรมคบคุมโรค http://www.ddc.moph.go.th/ สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร 1422