แนวคิดและทฤษฎีหลักของการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
Collaborative problem solving
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การประชุมการบริหารการสอนรายวิชาตาม โครงการ self access learning
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
Supply Chain Management
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดและทฤษฎีหลักของการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง Prajaks Jitngernmadan Faculty of Informatics Burapha University Bangsaen, Chonburi Prajaks Jitngernmadan

Principle of e-Learning สารบัญ ทฤษฎีการเรียนรู้ การเรียนรู้คืออะไร การออกแบบการเรียนการสอนตามหลักทฤษฏีเป็นอย่างไร องค์ประกอบของการเรียนการสอนออนไลน์ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ทฤษฏีการเรียนรู้ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) นักคิด นักจิตวิทยาในกลุ่มพฤติกรรมนิยมมองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่ดีไม่เลว (neutral-passive) การกระทำต่าง ๆ เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimulus-response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ให้ความสำคัญกับ “พฤติกรรม” มาก Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) “พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และสามารถสังเกตได้ พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของ การเรียนรู้ที่เป็นอิสระหลายอย่างเสริมแรง (Reinforcement) ช่วยให้พฤติกรรมเกิดขึ้น” สุรางค์ โค้วตระกูล 2541 Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพุทธิปัญญา (Cognitivism) ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของผู้เรียน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พุทธิปัญญา (Cognitive) เป็นการให้ความสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่าง ๆ) กับสิ่งเร้าภายใน ความรู้ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้-คิด หรือ กระบวนการคิด (Cognitive process) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการคิด (Cognitive process) Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพุทธิปัญญา (Cognitivism) กระบวนการคิด (Cognitive Process) ความใส่ใจ (Attending) การรับรู้ (Perception) การจำได้ (Remembering) การคิดอย่างมีเหตุผล (Reasoning) จินตนาการหรือการวาดภาพในใจ (Imagining) การคาดการณ์ล่วงหน้าหรือการมีแผนการณ์รองรับ(Anticipating) การตัดสินใจ(Decision) การแก้ปัญหา (problem solving) การจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ (Classifying) การตีความหมาย (Interpreting) ฯลฯ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) ทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ ความรู้ความเข้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ปัจจัยภายในมีส่วนช่วยทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ความรู้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจของผู้เรียน Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) ความรู้ของบุคคลใด คือ โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลนั้น ที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์ในการคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหา และสามารถนำไปใช้เป็นฐานในการแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์ อื่น ๆ ได้ นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่างๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรียนเอง Principle of e-Learning

Principle of e-Learning การเรียนรู้คืออะไร Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม ผูเรียนควรไดรับการแจงใหทราบวาผลการเรียนรูประจําหนวย หรือประจําวิชาที่ตองการคืออะไร ผูเรียนจะตองไดรับการประเมินผลการเรียนเพื่อใหผูเรียนทราบไดวาตนเองมี ผลการเรียนรูเปนไปตามที่กําหนดไวหรือไม่ ผูเรียนจะตองไดรับผลปอนกลับ เพื่อใหผูเรียนตรวจสอบตนเองไดวา ผูเรียนกําลังเกิดการเรียนรูที่ถูกตองหรือไม่ Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม การทำงานของสมอง 1 วินาที 20 วินาที 7 ± 2 Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม การทํางานในสมองเกิดขึ้นระหวางการส งสารสนเทศจากหนวยจําระยะสั้นไปยังหนวยความจําระยะยาว กระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสรางสารสนเทศจะเกิดขึ้น เนื่องจากผูเรียนแตละคนมีความแตกตางทางโครงสรางปญญา การดูดซึม (Assimilation) เปนกระบวนการที่ผูเรียนแตละบุคคลปรับสารสนเทศที่เขามาใหมใหเขากับโครงสรางทางปญญาที่มีอยูเดิม การปรับเหมาะ (Accommodation) จะเกิดขึ้น เมื่อโครงสรางทางปญญาที่มีอยู ไดเปลี่ยนแปลงใหเขากับสารสนเทศใหมที่เขามา ซึ่งทําใหไดโครงสรางทางปญญาใหมเกิดขึ้น Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม กลยุทธที่นํามาใชจากทฤษฎีของกลุมจิตวิทยาปญญานิยม คือ การออกแบบใหผูเรียนรับร ูและสนใจในสารสนเทศที่สามารถ ถายโยงจากหนวยความจําระยะสั้นไปหนวยความจําระยะยาว การออกแบบหน้าจอใหมีปริมาณสารสนเทศที่พอเหมาะ การออกแบบหนาจอที่ทําใหผูเรียนรับรูไดงาย ซึ่งหมายรวมถึง การออกแบบตําแหนงกราฟก สี ขนาดของตัวอักษรของสารสนเทศที่ปรากฏใหผูเรียนรับรู การออกแบบการเรียนรู และปริมาณสารสนเทศใหเอื้อตออัตราความกาวหนาในการเรียนของผูเรียนที่มีความแตกตางกัน การออกแบบใหผูเรียนไดรับการกระตุนเพื่อรับรูสารสนเทศ จะดีกวาผูเรียนที่ไมไดรับการกระตุน (Non-essential sensations) หรืออีกนัยหนึ่งคือ การออกแบบใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับการเรียนผานสื่อตางๆ Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม กลยุทธที่นํามาใชจากทฤษฎีของกลุมจิตวิทยาปญญานิยม คือ การออกแบบใหผูเรียนรับร ูและสนใจในสารสนเทศที่สามารถ ถายโยงจากหนวยความจําระยะสั้นไปหนวยความจําระยะยาว สารสนเทศที่สําคัญอยูในตําแหนงที่ผูเรียนมองเห็นไดอยางชัดเจน และสะดวกต่อการอานจากซายไปขวา สรางจุดสนใจพิเศษใหกับสารสนเทศที่สําคัญมาก เชน การใชสีใหเดนชัดมากขึ้น หรือสรางแถบสีบนตัวอักษร การใชขนาดตัวอักษร หรือตําแหนงการจัดวางเพื่อแสดงใหเห็นวาเปนหัวขอใหญหัวขอรอง และหัวขอยอย เพื่อใหผูเรียนรับรูและเห็นโครงสรางของเนื้อหาอยางชัดเจน เนื้อหาสาระที่ยากตอความเขาใจ ควรออกแบบตัวอยางเพื่อใหผูเรียนเขาใจไดง่ายมากขึ้น ซึ่งจะสามารถตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลได้ Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม กลยุทธที่ชวยใหผูเรียนดึงโครงสรางความรูที่มีอยูออกมาจากหน่วยความจําระยะยาว เพื่อปรับกับสารสนเทศใหม่ การใชการจัดผังความคิดลวงหนา (Advance organizers) เพื่อกระตุนใหผูเรียนไดรับรูสารสนเทศลวงหนา การนําเสนอกรอบมโนทัศนของสารสนเทศ ซึ่งเปนความคิดรวบยอด การใชคําถามนํากอนการเรียนเพื่อใหผูเรียนสรางความคาดหวังและกระตุนใหผูเรียนสนใจเนื้อหาใหม่ การทดสอบกอนเรียน เพื่อกระตุนผูเรียนใหดึงความรูมีอยูกอน และเปนแนวทางช่วยปรับพื้นฐานความรูแกผูเรียน Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม สารสนเทศที่นําเสนอควรรวมสิ่งที่แยกกันอยูใหเปนกลุม เพื่อลดการประมวลผลที่มากเกินไปของหนวยความจํา Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม สารสนเทศที่นําเสนอจัดใหมีรูปแบบที่แตกตางกันเพื่อชวยกระบวนการประมวลผลและถายโยงไปสูหนวยความจําระยะยาว สารสนเทศในรูปแบบของการมองเห็น ควรนําเสนอหลายรูปแบบเพื่อลดการประมวลผลที่มากเกินไปของหนวยความจํา เช่น ในรูปของขอความ และสัญลักษณทางภาพ Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม การสรางแรงจูงใจใหกับผูเรียน ผูเรียนที่มีแรงจูงใจภายในจะเรียนรูไดดีกวาผูเรียนที่ขาดแรงจูงใจภายใน ดังนั้นการผลิตสื่อการสอนสําหรับการเรียนออนไลนไมวาจะดีเพียงใด แตหากผูเรียนไมมีแรงจูงใจในการเรียน ผูเรียนจะไมเรียน Attention การสรางความสนใจให้ผู้เรียน Relevance ความเกี่ยวของสัมพันธ์ Confidence การสรางความมั่ นใจใหแกผูเรียน Satisfaction การใหผลปอนกลับที่ทําใหผูเรียนทราบผลปฏิบัติงานของตนเอง Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มการสร้างความรู้ ผูเรียนแตละคนมีการแปลความหมายสารสนเทศที่ไดรับและการแปลความสิ่งที่อยู รอบตัวเขาตามการรับรูที่เปนจริงของแตละบุคคล และเปลี่ยนสิ่งที่เขารับรู เปนความรูตามความเขาใจของผูเรียน ซึ่ งทําใหผูเรียนเปนศูนยกลางการเรียนรู ผูสอนทําหนาที่เปนผูชวยสนับสนุนการเรียนรู ใหคําแนะนํามากกวา เปนผูถายทอดความรู ซึ่งจะทําใหผูเรียนมีลักษณะตั้งรับ Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มการสร้างความรู้ การนำไปใช้ จัดการเรียนรูที่ใหผูเรียนมีสวนรวมกับกิจกรรมและตั้งคําถามกระตุ้นใหเกิดการคิดวิเคราะห พิจารณาจากสารสนเทศเดิมที่อยูตามการแปลความของสวนบุคคล จัดสารสนเทศใหกับผูเรียนในลักษณะของปฐมภูมิ ซึ่งแตกตางจากการเรียนในหองเรียนโดยทั่วไปที่ผูเรียนจะไดรับสารสนเทศแบบ ทุติยภูมิ ซึ่งผานการจัดกระทําตามแนวความคิดของผูสอนแลว จัดการเรียนการสอนในรูปแบบของการเรียนแบบรวมมือ และแบบเรียนรูรวมกัน เพื่อใหผูเรียนไดพบกับกระบวนการทางสังคม Principle of e-Learning

การนำทฤษฏีการเรียนรู้ไปใช้ กลุ่มการสร้างความรู้ การนำไปใช้ มีการจัดปฏิสัมพันธการเรียนรู เพื่อสงเสริมการเรียนรูขั้นสูงและสังคมการเรียนรู การออกแบบปฏิสัมพันธที่ชวยสนับสนุนการเรียนรู้ ผูเรียนปฏิสัมพันธกับตนเอง เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผูเรียนที่ ชวยตรวจสอบ และควบคุมการเรียนรูของตนเอง ผูเรียนปฏิสัมพันธกับผูสอน ผูเรียนอื่น และปฏิสัมพันธกับสื่อ ระหวางการเรียนรูกับสื่อการเรียนออนไลน ผูเรียนอาจตองการการสนับสนุนการเรียนรูจากผูสอน ผูเรียนปฏิสัมพันธกับการสอนที่ไดออกแบบกิจกรรมการเรียนไว เพื่อบรรลุผลทางการเรียน Principle of e-Learning

องค์ประกอบของการเรียนออนไลน์ Principle of e-Learning

องค์ประกอบของการเรียนออนไลน์ Principle of e-Learning

องค์ประกอบของการเรียนออนไลน์ Principle of e-Learning

องค์ประกอบของการเรียนออนไลน์ Principle of e-Learning

องค์ประกอบของการเรียนออนไลน์ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning Questions??? Principle of e-Learning