จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนมกราคม 2556 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
Advertisements

อินเดีย : มุมมองด้านการศึกษาที่เป็นความต้องการของสังคมไทย
ระบบการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
1 สาขาธุรกิจสุขภาพในประเทศไทย (Health care Business in Thailand) น. พ. สุรพงศ์ อำพันวงษ์ เครือ ร. พ. เกษมราษฎร์ สมาคม ร. พ. เอกชน หอการค้าไทย สภาหอการค้าไทยแห่ง.
รองศาสตราจารย์ ชัยยศ สันติวงษ์
หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ครูปัทมา แฝงสวัสดิ์. การอ่านเรื่องงานแล้ว บอกรายละเอียดและ สาระสำคัญ.
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
TQA Training หัวข้อ Application for OFI
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
TEST FOR 3RD GRADERS IN THAILAND: COMPARATIVE STUDY Pimlak Moonpo Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Patronage Assoc. Prof. Dr. Maitree Inprasitha.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
Education Quality Assurance. 2 Education Quality Assurance?
4 การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ Measurement Analysis and Knowledge Management State Enterprise Performance Appraisal.
Cornell University..
MEDICAL RESPONSE TO MAJOR INCIDENTS (MRMI)
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
ที่สหกรณ์สมควรจัดให้แก่สมาชิก
Education in THAILAND Evidence-based Policy
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
Economy Update on Energy Efficiency Activities
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
การประชุมทบทวนบริหาร
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ชัยเมศร์ อมรพลสมบูรณ์
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
สุขสันต์วันครบรอบคริสตจักร 19 ปี คริสตจักรเรมากรุงเทพฯ
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
กอบกู้วิกฤตการศึกษาไทย ความหวังการสร้างชาติที่ยั่งยืน
Health Promotion & Environmental Health
การดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
Money and Banking รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
Advanced Topics on Total Quality Management
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
Tourism Industry Vs Retail Business in Thailand Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand January 13, 2019.
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
ระดับสถาบัน ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล มีนาคม 2561.
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
Healthcare Risk management System: HRMS [ on cloud ]
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
Third World Party Convention 15 December 2019, Kathmandu, Nepal
นโยบายการศึกษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21 เมษายน 2559.
11/17/2010.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศEducation Criteria for Performance Excellence EdPEx ------------------------------------------------------------------------- มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2 พฤศจิกายน 2554

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวข้อ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวข้อ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx)

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาประเทศไทย การตรวจสอบภายใน การตรวจสอบโดยภายนอก ควบคุม ตรวจสอบ ประเมิน รับรอง การตรวจสอบ ประเมิน เทียบกับมาตรฐานสากล การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพโดยภายนอก

กับการประเมินคุณภาพภายนอก ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายใน กับการประเมินคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก การปฏิบัติงาน ของสถาบัน การประเมินตนเอง ของสถาบัน รายงาน ประจำปี การ ตรวจเยี่ยม รายการผล การประเมิน การ ติดตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ

การควบคุมคุณภาพภายใน การตรวจสอบคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายใน สำนักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษา มหาวิทยาลัย การควบคุมคุณภาพภายใน การตรวจสอบคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายใน การผ่านขั้นตอน การประกันคุณภาพภายใน ความพร้อมที่จะรับ การประเมินคุณภาพภายนอก ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาระบบ และกลไก การประกันคุณภาพ สำนักรับรองมาตรฐาน และประเมิน คุณภาพการศึกษา การประเมิน คุณภาพ ภายนอก

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๒ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๖๕) การยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย..เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์ ปัจจุบันการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ โดยการนำเกณฑ์ Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx) มาใช้เป็นเครื่องมือที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาปรับปรุงองค์กรสู่ความเป็นเลิศ มีความยืดหยุ่น เน้นการแข่งขันกับตนเอง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๒ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๖๕) การยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย..เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์ ปัจจุบันการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ โดยการนำเกณฑ์ Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx) มาใช้เป็นเครื่องมือที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาปรับปรุงองค์กรสู่ความเป็นเลิศ มีความยืดหยุ่น เน้นการแข่งขันกับตนเอง

รางวัลคุณภาพแห่งชาติ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) พัฒนามาจาก แนวทางของรางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) ซึ่งเป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ Mr. Malcolm Baldrige อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี 1980 ซึ่งเป็นช่วงที่สหรัฐกำลังมีปัญหาเรื่องความสามารถในการแข่งขัน มีประเทศต่าง ๆ นำแนวทางไปประยุกต์เป็นเกณฑ์รางวัลคุณภาพของชาติตนมากกว่า 60 ประเทศ 12

Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) Business Criteria for Performance Excellence Educational Criteria for Performance Excellence Health Care Criteria for Performance Excellence Performance Excellence Criteria for non profit Organization 13

National Quality and Business Excellence Awards in the Asia Pacific Australia Hong Kong Japan Malaysia Philippines Singapore Sri Lanka Thailand Vietnam 7. Thailand’s medical school is the Faculty of Medicine, Siriraj Hospital which was founded in 1886. Thailand has now 14 medical schools, one of which is private. Seven of them are located outside Bangkok , two of them are in the northern part of Thailand, one in Chiangmai and one in Phitsanulok, the other two are in the northeastern part of Thailand, Khon Kaen and Nakornrajsima.

ช่วงก่อนปี1980 Performance JAPAN USA ? QC Time MBNQA start…… Establishment of Deming Prize 1950 1960 1970 1980 1990 Time MBNQA start……

หลังปี 1980เป็นต้นมา Performance USA JAPAN TQC ? QC Benchmarking Restructuring Establishment of TQA Establishment of JQA Establishment of MBNQA 1980 1985 1987 1990 1995 2000 Time MBNQA, Health Care and Education start……

Excellence Maturity Model External recognition Journey to world class World class Benchmarking Best Practice ISO 9000 Procedures Rules Control Survival Prosper Domination

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๒ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๖๕) การยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย..เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์ ปัจจุบันการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ โดยการนำเกณฑ์ Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx) มาใช้เป็นเครื่องมือที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาปรับปรุงองค์กรสู่ความเป็นเลิศ มีความยืดหยุ่น เน้นการแข่งขันกับตนเอง

เกณฑ์นี้จะช่วยสถาบันท่านได้อย่างไร? นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกณฑ์นี้จะช่วยสถาบันท่านได้อย่างไร? เกณฑ์นี้ ออกแบบมาเพื่อช่วยให้สถาบันใช้เป็นแนวทางที่บูรณาการ ในการจัดการผลการดำเนินการของสถาบัน ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ดังนี้ การจัดการศึกษาที่มีการปรัใบปรุงอย่างสม่ำเสมอให้แก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา และความยั่งยืนของสถาบัน การปรับปรุงประสิทธิผล และขีดความสามารถโดยรวม การเรียนรู้ระดับสถาบันและระดับบุคคล

เกณฑ์นี้จะช่วยสถาบันท่านได้อย่างไร? นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกณฑ์นี้จะช่วยสถาบันท่านได้อย่างไร? เกณฑ์นี้ ออกแบบมาเพื่อช่วยให้สถาบันใช้เป็นแนวทางที่บูรณาการ ในการจัดการผลการดำเนินการของสถาบัน ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ดังนี้ การจัดการศึกษาที่มีการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอให้แก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา และความยั่งยืนของสถาบัน การปรับปรุงประสิทธิผล และขีดความสามารถโดยรวม การเรียนรู้ระดับสถาบันและระดับบุคคล

วัตถุประสงค์ของโครงการ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ และแนวปฏิบัติในการนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศไปสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาได้ เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาเทียบเคียงได้ในระดับสากล

วัตถุประสงค์ของโครงการ(ต่อ) นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของโครงการ(ต่อ) เพื่อพัฒนาพี่เลี้ยง (Mentor) และผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศอย่างก้าวกระโดด

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีดำเนินการ กำหนดเป็น ๓ ระยะ ดังนี้ ระยะเริ่มโครงการ ระยะดำเนินโครงการ มี ๓ ระยะย่อย ค้นหาและสร้างความเข้าใจ การปรับปรุงกระบวนงานและการวัดผล สรุปผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระยะยกระดับคุณภาพ ระยะเวลาดำเนินการ ๑๘ เดือน (ต.ค. ๕๓ - ก.พ. ๕๕)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มเป้าหมาย คณะวิชาในสถาบันอุดมศึกษาที่มีความสนใจ และมีศักยภาพและความพร้อม จำนวน ๑๕ คณะวิชา และหากมีคณะวิชาที่ได้รับการคัดเลือกมากกว่า ๑๕ คณะวิชา จะพิจารณาเป็นให้เป็นกลุ่มที่จะดำเนินการต่อเนื่องในระยะที่ ๒ ต่อไป คณะวิชาที่มีประสบการณ์การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศไปใช้ ในสถาบันอุดมศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มเป้าหมาย(ต่อ) กลุ่มพี่เลี้ยงที่เป็นผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติและมีความรู้ เรื่องเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศที่มาจากสถาบันการศึกษา ที่อยู่หน่วยงานงานภาคเอกชน และองค์กรที่ไม่หวังกำไรอื่นๆ และผู้ที่ผ่านการอบรมรางวัลคุณภาพแห่งชาติและอยู่ในสถาบันการศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลที่คาดว่าจะได้รับ บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศและสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ สถาบันอุดมศึกษาสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาเทียบได้ในระดับสากล

ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ต่อ) นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ต่อ) ได้พี่เลี้ยงและผู้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ที่มีความรู้ความสามารถและมีมาตรฐานระดับสากล มีแผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศอย่างก้าวกระโดด

ความคาดหวังของโครงการ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความคาดหวังของโครงการ ระยะสั้น ( ๑ ปีครึ่งของโครงการนำร่อง ): การยกระดับคุณภาพของกลุ่มเป้าหมาย เป็นตัวอย่างของความสำเร็จ เพื่อการขยายผล ระยะยาว ประโยชน์ในระดับสถาบันและระดับประเทศ : ความเป็นเลิศในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค ระดับโลก

ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ ๑. ผู้บริหาร : มีความมุ่งมั่น จริงจังและต่อเนื่อง : ให้ความร่วมมือ และสนับสนุน ทรัพยากรดำเนินงาน ๒. บุคลากร : เสียสละเวลา รับผิดชอบในการดำเนิน กิจกรรมอย่างครบถ้วน : เปิดใจ และแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๓. การติดตามและปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

โครงการต่อยอดคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการต่อยอดคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เปิดโอกาสให้สถาบันการศึกษาที่มีความมุ่งมั่น และมีประสบการณ์ในการนำเกณฑ์ EdPEx ไปใช้แล้วในระดับหนึ่งเข้าร่วมโครงการ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการอย่างก้าวกระโดดได้

วัตถุประสงค์ของโครงการ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาบุคลากรที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพองค์กรทางการศึกษาและให้สถาบันการศึกษาประเมินตนเองด้วยเกณฑ์ EdPEx เพื่อพัฒนาคู่มือการดำเนินงานที่สามารถนำไปเป็นแนวทางในการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการและสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ

วัตถุประสงค์ของโครงการ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯเป็นตัวอย่างของประชาคมอุดมศึกษาในการต่อยอดการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกอย่างก้าวกระโดด เพื่อให้ สกอ.นำแนวทางการดำเนินโครงการ คู่มือและบทเรียนต่างๆที่ได้รับขยายผลสู่การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน

กิจกรรมของผู้เข้าร่วมโครงการ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กิจกรรมของผู้เข้าร่วมโครงการ Orientation course on EdPEx criteria เข้ารับการฝึกอบรมกับผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ Dr. Luis Maria Calingo, Ph.D Executive Vice President and Chief Academic Officer, Dominican University of California Educational Institution; Higher Education industry

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dr. Calingo’s tentative schedule 1st visit December 9-23,2011 2nd visit June 30-July 5,2012 3rd visit December 15-22,2012 4th visit July 1-6,2013 5th visit December 7-21,2013 Will be delayed for 3-6 months

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dr. Calingo’s tentative schedule 1st visit December 9-23,2011 Organization assessor training course 2nd visit June 30-July 5,2012 follow up/sharing 3rd visit December 15-22,2012 Site visit training 4th visit July 1-6,2013 5th visit December 7-21,2013 Wrap up session

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานการณ์ปัจจุบัน คณะหน่วยงานที่สมัคร 67 จาก 29 สถาบัน การประชุมคัดเลือกหน่วยงานเข้าโครงการ เลื่อนจาก 21 ตุลาคมเป็น......

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวข้อ ความเป็นมา โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ EdPEx การดำเนินโครงการต่อยอดคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวข้อ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อความเป็นเลิศ Educational Criteria for Performance Excellence (EdPEx)

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเกณฑ์ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเกณฑ์ เกณฑ์เป็นบรรทัดฐานสำหรับการประเมินองค์กร เกณฑ์ประกอบด้วยคำถามในหมวดต่างๆ 7 หมวด คือ การนำองค์กร การวางแผนกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด การวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นบุคลากร การจัดการกระบวนการ และผลลัพธ์ 42

ค่านิยมหลักและแนวคิด พื้นฐานของเกณฑ์ ค่านิยมหลักและแนวคิด 1. การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ 3. การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล การให้ความสำคัญกับคณาจารย์ บุคลากรและผู้ร่วมงาน 5. ความคล่องตัว 6. การมุ่งเน้นอนาคต 7. การจัดการเพื่อนวัตกรรม 8. การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง 9. ความรับผิดชอบต่อสังคม 10. การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า 11. มุมมองในเชิงระบบ เกณฑ์ 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3. การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด 4. การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการกระบวนการ 7. ผลลัพธ์ในการดำเนินงานขององค์กร

เกณฑ์เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ : มุมมองในเชิงระบบ โครงร่างองค์กร : สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 5 การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 7 ผลลัพธ์ 1 การนำองค์กร 3 การมุ่งเน้นลูกค้า 6 การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์ เกณฑ์มุ่งเน้นผลลัพธ์ เกณฑ์ไม่กำหนดวิธีการและสามารถปรับใช้ได้ เกณฑ์สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ เพื่อเป้าประสงค์สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันทั้งองค์กร เกณฑ์สนับสนุนการตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ 47

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์ เกณฑ์มุ่งเน้นผลลัพธ์ เกณฑ์ไม่กำหนดวิธีการและสามารถปรับใช้ได้ เกณฑ์สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ เพื่อเป้าประสงค์สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันทั้งองค์กร เกณฑ์สนับสนุนการตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ 48

120 85 90 450 หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 90 หมวด 5 การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์ในการดำเนินงาน 450 คะแนนรวม 1000 คะแนนในแต่ละหมวด 49

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์ เกณฑ์มุ่งเน้นผลลัพธ์ เกณฑ์ไม่กำหนดวิธีการและสามารถปรับใช้ได้ เกณฑ์สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ เพื่อเป้าประสงค์สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันทั้งองค์กร เกณฑ์สนับสนุนการตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ 50

จาก slide ของอ. สังวร รัตนรักษ์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์ เกณฑ์มุ่งเน้นผลลัพธ์ เกณฑ์ไม่กำหนดวิธีการและสามารถปรับใช้ได้ เกณฑ์สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ เพื่อเป้าประสงค์สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันทั้งองค์กร เกณฑ์สนับสนุนการตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ 52

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์ เกณฑ์มุ่งเน้นผลลัพธ์ เกณฑ์ไม่กำหนดวิธีการและสามารถปรับใช้ได้ เกณฑ์สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ เพื่อเป้าประสงค์สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันทั้งองค์กร เกณฑ์สนับสนุนการตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ 58

วงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน การวางแผน (Approach) ซึ่งรวมถึงการออกแบบกระบวนการ การเลือกตัววัด และการถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ การปฏิบัติตามแผน (Deployment) การประเมินความก้าวหน้าและการได้มาซึ่งความรู้ใหม่ (Learning) โดยพิจารณาจากผลลัพธ์ที่ได้ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร การปรับแผนโดยบูรณาการ (Integration) จากผลการประเมิน การเรียนรู้ ปัจจัยนำเข้าใหม่ ข้อกำหนดใหม่ รวมทั้งโอกาสในการสร้างนวัตกรรม 60

แผนภูมิ alignment แบบต่างๆ 1. มีลักษณะแบบแก้ปัญหา การปฏิบัติงานมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าเป็นกระบวนการ และส่วนใหญ่ตอบสนองความต้องการหรือปัญหาเฉพาะหน้า

แผนภูมิ alignment แบบต่างๆ 2. แนวทางเริ่มเป็นระบบ องค์กรอยู่ในระยะต้นของการปฏิบัติงานอย่างเป็นกระบวนการ ที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมินผล การปรับปรุง และมีการประสานงาน บ้างระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร

แผนภูมิ alignment แบบต่างๆ 3. แนวทางมุ่งไปในแนวทางเดียวกัน การปฏิบัติงานมีลักษณะเป็นกระบวนการที่ทำซ้ำได้และมี การประเมินผลอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยน ความรู้กัน และการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร

แผนภูมิ alignment แบบต่างๆ 4. แนวทางที่มีการบูรณาการกัน การปฏิบัติงานมีลักษณะเป็นกระบวนการที่ทำซ้ำได้และมี การประเมินผลอย่างสม่ำเสมอเพื่อการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุง ด้วยความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น ๆ ที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งต้องอาศัย การทำงานข้ามหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ

จาก slide ของอ. สังวร รัตนรักษ์

ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ ได้แก่ มิติผลลัพธ์ “ผลลัพธ์’’ หมายถึง ผลผลิตและผลลัพธ์ขององค์กร ในการบรรลุตามข้อกำหนดในหัวข้อ 7.1 ถึง 7.6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ ได้แก่  ระดับผลการดำเนินการ (Level)  แนวโน้ม (Trend)  การเปรียบเทียบ (Comparison)  ความครอบคลุมและความสำคัญของผลลัพธ์ (Integration) Slide นี้ อธิบายตามเอกสาร โดยไม่มีเนื้อหาเพิ่มเติม

หมวด 1 การนำองค์กร (120 คะแนน) หมวด 1 การนำองค์กร (120 คะแนน) 1.1 การกำหนดทิศทางขององค์กรโดยผู้นำระดับสูง (70 คะแนน) ก. วิสัยทัศน์ค่านิยมและพันธกิจ ข. การสื่อสารและผลการดำเนินการขององค์กร 1.2 ธรรมาภิบาลความรับผิดชอบต่อสังคม (50 คะแนน) ก. ระบบธรรมาภิบาล ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรม ค. ความรับผิดชอบต่อสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (85 คะแนน) หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (85 คะแนน) 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ (40 คะแนน) ก. กระบวนการจัดทำกลยุทธ์ ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (45 คะแนน) ก. การจัดทำแผนปฏิบัติการและการนำแผนไป ปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ผลการดำเนินการ

หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า (85 คะแนน) 3.1 ความผูกพันของลูกค้า.( 40 คะแนน) ก. หลักสูตรและบริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้และบริการอื่นๆ ข. การสร้างวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นลูกค้า 3.2 เสียงของลูกค้า(45 คะแนน) ก. การรับฟังลูกค้า ข. การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของลูกค้า ค. การวิเคราะห์และใช้ข้อมูลจากลูกค้า

หมวด 4 การวัดผล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (90 คะแนน) 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์กร (45 คะแนน) ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินงาน 4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรู้ (45 คะแนน) ก. การจัดการข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ ข. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยี สารสนเทศ

หมวด 5 การมุ่งเน้นผู้ปฎิบัติงาน (ต0 คะแนน) 5.1 การผูกใจผู้ปฏิบัติงาน (35 คะแนน) ก. การสร้างคุณค่าของผู้ปฏิบัติงาน ข. การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานและผู้นำ ค. การประเมินความผูกพันของผู้ปฏิบัติงาน 5.2 สภาพแวดล้อม ในการทำงาน(50 คะแนน) ก. ขีดความสามารถและอัตรากำลัง ข. บรรยากาศการทำงาน

6.1 การออกแบบระบบงาน (35 คะแนน) หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (85 คะแนน) 6.1 การออกแบบระบบงาน (35 คะแนน) ก. การออกแบบ ข. กระบวนการทำงานหลัก ค. ความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน 6.2 กระบวนการทำงาน (50 คะแนน) ก. การออกแบบกระบวนการทำงาน ข. การจัดการกระบวนการทำงาน ค. การปรับปรุงกระบวนการทำงาน

หมวด 7 ผลลัพธ์ (450 คะแนน) 7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน หมวด 7 ผลลัพธ์ (450 คะแนน) 7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 7.3 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงินและการตลาด 7.4 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 7.5 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลขององค์กร 7.6 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การ

THE MATURITY LEVEL ASSESSMENT ASSESSMENT LEVEL 5 THE MATURITY LEVEL ASSESSMENT การประเมินแบบนี้ เพื่อประเมินภาพใหญ่ขององค์กร ว่ามีการพัฒนาไปไกลมากน้อยเพียงใด

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ นันทนา ศิริทรัพย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ ๑. ผู้บริหาร : มีความมุ่งมั่น จริงจังและต่อเนื่อง : ให้ความร่วมมือ และสนับสนุน ทรัพยากรดำเนินงาน ๒. บุคลากร : เสียสละเวลา รับผิดชอบในการดำเนิน กิจกรรมอย่างครบถ้วน : เปิดใจ และแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๓. การติดตามและปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง