2.4 ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์เสี่ยง มีการให้บริการตามมาตรฐานภาวะเสี่ยง ได้รับคำแนะนำเรื่องที่มาพบแพทย์ 2.4.1 มี high risk clinic 2.4.2.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่าปรกติของห้องปฏิบัติการ
Advertisements

Inter-hospital Conference 20 March 2012
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
การตั้งค่าวัคซีน.
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
เรื่อง การดูแลผู้ป่วย MI
การกำหนดค่าเบื้องต้นเพื่อการใช้งาน และส่งออก 43 แฟ้ม
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพ
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
SEPSIS.
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
Facilitator: Pawin Puapornpong
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
Facilitator: Pawin Puapornpong
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
เสียงจาก ผู้ให้บริการ พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
Facilitator: Pawin Puapornpong
Antenatal Care (ANC) Laboratory analysis
Case 1. Case 1 หญิงตั้งครรภ์ G1P0 GA 36 wk ที่อยู่ 28 หมู่ 2 ต.บางหลวงโดด อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา CC : ญาตินำส่งโรงพยาบาลด้วยไม่รู้สึกตัว 40 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล.
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
เขตสุขภาพ ที่11.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข นางอรวรรณ ดวงจันทร์ สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 28 ธันวาคม 2559 ณ.โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น.
CQI ตึกกุมารเวชกรรม.
กระทรวงศึกษาธิการ.
การสอบสวน ป้องกัน และควบคุม โรคไข้เลือดออก
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการฯ
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
สรุปตัวชี้วัด ของหน่วยตรวจพิเศษ ปี 57.
อนามัยแม่และเด็กอำเภอ
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
PA Mother & Child Health
การตรวจร่างกายทั่วไป และการตรวจทางห้องปฏิบัติการในสตรีตั้งครรภ์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2.4 ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์เสี่ยง มีการให้บริการตามมาตรฐานภาวะเสี่ยง ได้รับคำแนะนำเรื่องที่มาพบแพทย์ 2.4.1 มี high risk clinic 2.4.2 มีแนวทางการดูแล / ส่งต่อ ชัดเจน 2.4.3 พบแพทย์ > 1 ครั้ง 2.4.4 ทราบช่องทางติดต่อเจ้าหน้าที่ 24 ชม.

2.5 ให้บริการตามมาตรฐาน 2.5.1 ตรวจ Multiple dipstick 2.5.2 ตรวจภายใน 2.5.3 ตรวจ USG 2.5.4 มาตรฐานการตรวจ และประเมินอายุครรภ์ 2.5.5 ให้การปรึกษาคู่ 2.5.6 ประเมินสุขภาพจิต 3 ครั้ง 2.5.7 ฉีด dT และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 2.5.8 ตรวจเต้านมหัวนม และให้คำแนะนำ 2.5.9 ตรวจสุขภาพช่องปาก > 1 ครั้ง เมื่อพบปัญหาให้การรักษา/ส่งต่อทุกราย 2.5.10 มอบสมุดMCH บันทึกข้อมูล พร้อมอธิบาย

2.6 ให้บริการด้านโภชนาการ 2.6.1 จ่ายยาเสริมวิตามินแร่ธาตุพร้อมให้คำแนะนำ ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก ไอโอดีน แคลเซียม 2.6.2 ประเมินภาวะโภชนาการ แนวโน้มการเพิ่มน้ำหนัก 2.6.3 ประเมินพฤติกรรมบริโภค 2.6.4 มีการแจ้งและอธิบาย 2.6.5 ให้คำแนะนำรายบุคคล 2.6.6 มีการแก้ปัญหา น้ำหนักต่ำกว่า/มากกว่าเกณฑ์ 2.6.7 มีกลยุทธ์แนวทางแก้ปัญหาชัดเจน

ทำบอร์ดประชาสัมพันธ์ ฝากครรภ์คุณภาพตาม WHO Classifying form สำหรับคัดกรอง high risk และมีแผนการดูแลรักษา

Urine Multiple dipstick PV – speculum exam เพื่อวินิจฉัยการติดเชื้อที่ไม่แสดงอาการ รักษาแล้วสามารถ ลดอุบัติการณ์การคลอดก่อนกำหนดได้

มาตรฐานตรวจครรภ์ ตรวจหน้าท้องดูท่าทารกให้แน่ใจ ไม่มั่นใจ ต้อง Screening USG 2 ครั้ง ตรวจหน้าท้องดูท่าทารกให้แน่ใจ จะได้ไม่ต้องสิ้นเปลืองตรวจการ Screening USG ครั้งที่ 2 ในอายุครรภ์ ไตรมาสที่ 3

วัคซีน dT ไม่ทราบว่ามี diptheria vaccine ด้วย อย่าลืมนัดฉีดเข็มที่3 ด้วย

ไม่ครบถ้วน/ไม่ถูกต้อง การบันทึกในสมุดMCH ไม่ครบถ้วน/ไม่ถูกต้อง ตรวจสอบการลงบันทึก ชี้แนะให้ผู้รับบริการเรียนรู้การใช้สมุดนี้ได้ด้วยตนเอง

ไม่เข้าใจ Vallop curve แนวทางดูแลแก้ไขปัญหาไม่เหมาะสม ไม่จริงจัง ภาวะโภชนาการ ไม่เข้าใจ Vallop curve แนวทางดูแลแก้ไขปัญหาไม่เหมาะสม ไม่จริงจัง ศึกษาการใช้ และแก้ไขปัญหา ภาวะโภชนาการผิดปกติอย่างจริงจัง

2. การให้บริการฝากครรภ์ในสถานบริการ 2.1 ซักประวัติ 2.2 ตรวจร่างกายทั่วไป ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดความดันโลหิต  2.3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยสมัครใจ และแจ้งผลเลือดแก่หญิงมีครรภ์ / สามี พร้อมทั้งให้การปรึกษาแนะนำ ภาวะซีด (Hct, CBC) ,VDRL ,ปัสสาวะ / Albumin / Sugar /HBsAg, ธาลัสซีเมีย, เอดส์ blood gr Rh

2.4 ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์เสี่ยงโดยขอดู ในสมุดบันทึกสุขภาพฯ และพบว่าภาวะเสี่ยงต้องมีการให้บริการตามมาตรฐานการดูแลภาวะเสี่ยง และหญิงตั้งครรภ์ได้รับคำแนะนำ เรื่องที่ต้องมาพบแพทย์ 2.4.1 มีคลินิก High risk เพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง 2.4.2 มีแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงและการส่งต่อที่ชัดเจน 2.4.3 ได้พบแพทย์ 1 ครั้งในครรภ์ปกติ 2.4.4 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลเพื่อการจัดการความเสี่ยง 2.4.5 หญิงตั้งครรภ์ทราบช่องทางที่จะติดต่อ จนท.ตลอด 24 ชม.

2.5 การให้บริการตามมาตรฐานต่าง ๆ ดังไปต่อนี้ 2.5.1 ตรวจ Multiple dipstick ตรวจครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ 2.5.2 ตรวจภายใน ตรวจครั้งแรก/ภายในไตรมาสแรก 2.5.3 อัลตร้าซาวน์ ต้องมีการยินยอมจากผู้รับบริการ 2.5.4 มาตรฐานการตรวจ และ ประเมินอายุครรภ์ 2.5.5 การให้คำปรึกษาคู่ 2.5.6 ประเมินสุขภาพจิตหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 3ครั้ง   2.5.7 มีการฉีดวัคซีนบาดทะยักตามมาตรฐาน (dT) และวัคซีนไข้หวัดใหญ่

2.5.8 มีการตรวจเต้านม - หัวนม และให้คำแนะนำการดูแล 2.5.9 มีบริการตรวจสุขภาพช่องปาก และรักษาหรือส่งต่อเมื่อพบปัญหา 2.5.9.1 ได้รับการตรวจช่องปากอย่างน้อย 1 ครั้ง 2.5.9.2 ได้รับการรักษาหรือส่งต่อ ทุกราย 2.5.10 มอบสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก และมีการบันทึกข้อมูลพร้อมอธิบายการใช้สมุดฯ แก่ผู้รับบริการ

2.6 มีการให้บริการด้านโภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ 2.6.1 มีการจ่ายยาเสริมวิตามินและแร่ธาตุแก่หญิงตั้งครรภ์ และคำแนะนำ   2.6.2 มีการประเมินภาวะโภชนาการให้ทราบภาวะโภชนาการและ แนวโน้มการเพิ่มน้ำหนักเป็นรายบุคคลทุกราย 2.6.3 มีการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารเป็นรายบุคคล 2.6.4 มีการแจ้งและอธิบายผลการประเมินทั้งภาวะโภชนาการแนวโน้ม การเพิ่มน้ำหนักและพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 2.6.5 มีให้คำแนะนำอาหารหญิงตั้งครรภ์เป็รรายบุคคลตามภาวะ โภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 2.6.6 มีการแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ / เกินเกณฑ์ 2.6.7 มีกลยุทธ์/แนวทางการแก้ไขโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ที่ชัดเจน

Check list 2.1 ขอดูสมุดบันทึกสุขภาพ/ทะเบียนฝากครรภ์หากมีการปฏิบัติ ถือว่าผ่าน 2.2 ขอดูสมุดบันทึกสุขภาพ/ทะเบียนฝากครรภ์หากมีการปฏิบัติ ถือว่าผ่าน  2.3 ตรวจสอบจากสมุดบันทึกสุขภาพและจากเวชระเบียนหากปฏิบัติ ถือว่าผ่าน  2.4.1 ขอดูมีแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงและข้อกำหนดในการส่งต่อฯ 2.4.2 ขอดูทะเบียนrefer /สรุปการติดตาม /ระบบการตอบกลับสำหรับโรงพยาบาลที่รับการส่งต่อ 2.4.4 สุ่มถามหญิงตั้งครรภ์ถึงความเสี่ยงและการได้รับการจัดการความเสี่ยง (รพศ./รพท. จำนวน 10 คน, รพช./รพ.เอกชน จำนวน 5 คน)     

Check list 2.5 ขอดูสมุดบันทึกสุขภาพ / ทะเบียนฝากครรภ์หากมีการปฏิบัติ ถือว่าผ่าน >80% น้อยกว่า 20% = 0 20-40% = .25 40-60% = .5 >60% = 1 หมายเหตุ: - มีการใช้กราฟในการประเมินอายุครรภ์สัมพันธ์กับขนาดมดลูก / 10-20% = .25 20-30% = 0.5 และ มากกว่า 30% = 1 - การประเมินสุขภาพจิต/โดยหญิงตั้งครรภ์ประเมินตนเอง) - รพ.ใช้วัคซีน dT ในการบริการฯ - หญิงตั้งครรภ์สามารถอธิบายความสำคัญการฉีดวัคซีนบาดทะยักได้

Check list 2.6.1ขอดูทะเบียนการจ่ายยา และสอบถามการให้ยาแก่ผู้รับบริการ - วิตามินเสริมธาตุเหล็ก - Folic acid - ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ตลอดการตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่ให้นมบุตร 0-6 เดือน - แคลเซี่ยม ให้ในกรณีเมื่อหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง หรือมีข้อบ่งชี้ 2.6.2 สุ่มถามหญิงตั้งครรภ์ (แบบสัมภาษณ์) 2.6.3 มีการประเมินพฤติกรรมการบริโภคในสมุดสีชมพูในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย 2.6.4 ขอดูการปฏิบัติในสมุดบันทึกสุขภาพ / OPD Card และสุ่มถามหญิงตั้งครรภ์ ถ้าได้ปฏิบัติครบตามกิจกรรมที่กำหนดถือว่าผ่าน (รพศ./รพท. จำนวน 10 คน, รพช./รพ.เอกชน จำนวน 5 คน) ประเมิน (ผ่าน 4ใน 5 คน/ผ่าน 8 ใน 10 คน)

3. การดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน 3.1 จัดบริการฝากครรภ์เคลื่อนที่ในกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงยาก 3.2 รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ งานเชิงรุก 3.3 มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมายคู่สมรสใหม่ 3.4 มีนวตกรรมแก้ไขปัญหาในชุมชน 3.5 มีระบบติดตามกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้กลไก อสม.หรือ อื่นๆ

รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ งานเชิงรุก มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

ชุดของขวัญฝากครรภ์รายใหม่ ของขวัญคู่สมรสใหม่ ชุดของขวัญฝากครรภ์รายใหม่

จิตอาสา สามีมีส่วนร่วม ชุมชนมีส่วนร่วม

ระบบข้อมูล คลาดเคลื่อน ไม่ครบถ้วน ขาดการวิเคราะห์ แก้ปัญหา จัดระบบ ประเมิน วิเคราะห์ แก้ปัญหา และติดตาม โดยเฉพาะประเด็นการส่งต่อ

4. ข้อมูลและสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 4. ข้อมูลและสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 4.1 มีการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อดูผลสำเร็จของการพัฒนาบริการฝากครรภ์โดยมีแบบฟอร์มเก็บข้อมูล : ANC คุณภาพ (รายงาน 43 แฟ้ม) - ร้อยละการฝากครรภ์เร็ว และการฝากครรภ์ครบ - ร้อยละภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลและส่งต่อ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการไม่ดีได้รับการดูแล แก้ไขและส่งต่อ - อัตราการคลอดก่อนกำหนด/ BBA /DFIU /Abortion 4.2 มีการนำข้อมูลหรือตัวชี้วัดสำคัญของหน่วยงานมาใช้เฝ้าระวังหรือวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน (CQI) และติดตามต่อเนื่อง

การให้คะแนนการตรวจภายใน ตรวจ<20% ได้= 0 20-40% = 0.25 40-60% = 0.5 >60% = 1 การให้คะแนนการให้การปรึกษาคู่ ให้ <20% ได้ = 0.25 20-30% = 0.5 >30% = 1

การให้ความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่

การให้ความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ 1. มีสถานที่ให้ความรู้   - สำรวจสถานที่ให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่ ANC/PP/WBC   2. มีรูปแบบการให้ความรู้เป็นแบบมีส่วนร่วมใน 3 ขั้นตอนประกอบด้วย - ขั้นนำ - ขั้นสอน - ขั้นสรุป - ซักถามเจ้าหน้าที่ และตรวจสอบจากทะเบียนการให้ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่ของโรงพยาบาล รูปแบบ ANC รูปแบบ PP รูปแบบ WBC

3. มีอุปกรณ์ สื่อการสอน/แผนการสอน ในเรื่องที่สอน ดังนี้ - ระยะตั้งครรภ์ 5 เรื่องได้แก่ การใช้สมุดบันทึกสุขภาพ อาหารของแม่ เพื่อลูกรักในครรภ์ ดูแลตนเองและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน นมแม่รักแท้ที่แม่ให้ ทันตสุขภาพแม่เพื่อลูก - ระยะหลังคลอด 4 เรื่องได้แก่ การปฏิบัติตัวหลังคลอด การอาบน้ำทารก การนวดสัมผัสทารก การเล่นและเล่านิทาน การส่งเสริมพัฒนาการ นมแม่...แม่ทำได้ - คลินิกเด็กดี 4 เรื่องได้แก่ นมแม่อย่างยั่งยืน เริ่มอาหารตามวัยลูกรักอย่างถูกวิธีการสร้างวินัยให้ลูกรัก และ เตรียมลูกน้อยสู่โลกกว้าง

3. ขอดูแผนการสอน/สื่อการสอน ครบตามเรื่องที่กำหนด (มีแผนการสอน สื่อการสอน เอกสารคู่มือ) แผนการสอนและสื่อ ANC แผนการสอนและสื่อ PP แผนการสอนและสื่อ WBC 3.2 สาธิตการจัดดรงเรียนพ่อแม่ อย่างน้อย 1 คลินิก

4. มีการประเมินผลหลังการเข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ 4. มีการประเมินผลหลังการเข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ 4.1 ขอดูภาพกิจกรรมการสอนโรงเรียนพ่อแม่ 4.2 ขอดูสรุปผลการทำกิจกรรมและการประเมินผลการสอนโรงเรียนพ่อแม่(มีทะเบียนร.ร.พ่อแม่/ มีการประเมินความรู้หลังให้ความรู้) ANC PP WBC

สามี และญาติ มีส่วนร่วม ANC >50% PP>75% WBC>50%   6. ความรู้หญิงตั้งครรภ์ ANC PP WBC - สุ่มถามหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการ รพศ/รพท จำนวน 10 คน รพช. 5 คน(ผ่าน 4 ใน 5 คน/ผ่าน 8 ใน 10 คน ถือว่าผ่านเกณฑ์)