คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Application Development Overview Nithi Thanon Computer Science Prince of Songkla University.
Advertisements

Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
Lecture no. 5 Control Statements
เฉลย Lab 10 Loop.
Program Flow Chart.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Repetitive Statements (Looping)
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
Repetitive Or Iterative
1 นายทินวัฒน์ พงษ์ทองเมือง. 2 การเปิดให้ Program ทำงาน 3  p:\xampplite\ xampplite-control.exe  Start Apache.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 23 มิถุนายน 2550 ASP Structure Programming มหาวิทยาลัยโยนก.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
Introduction ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
Programming & Algorithm
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
Chapter 05 Selection structure ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
Introduction to Computer Organization and Architecture Flow of Control ภาษาเครื่อง สายงานของการ ควบคุม.
Introduction to Flowchart
BC322 : Computer Programing (ครั้งที่ 1)
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
อัลกอริทึมและผังงาน อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ 1.2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การประมวลผลแบบวน ( LOOP )
การควบคุมทิศทางการทำงาน
Concept of Programing.
INC 161 , CPE 100 Computer Programming
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การแสดงขั้นตอนวิธีด้วยรหัสเทียม (Pseudo-Code)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
PHP (2) - condition - loop
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
บทที่ 2 ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm)
การออกแบบระบบ System Design.
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
ขั้นตอนวิธี Algorithms.
บทที่ 2 อัลกอริธึมและการวิเคราะห์ปัญหา
introduction to Computer Programming
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
[ บทที่ 1 ] ระบบฐานข้อมูล
ขั้นตอน ที่ 2 การวิเคราะห์ระบบ
การสร้างผังงานโปรแกรม
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (Problem Analysis)
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ISY1102 การโปรแกรมเบื้องต้นสำหรับสารสนเทศศึกษา Introduction to Programing for Information Studies

คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ โครงสร้างเงื่อนไขและการวนซ้ำ ฟังก์ชั่นและพารามิเตอร์ โครงสร้างข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Flow Chart; Pseudocode; Basic of logic; Structural computer programming; Types of Variable; Logical operators; Comparison operators; Condition and iteration structure; Functions and parameter; Arrays.

สัปดาห์ที่ 1 ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) หมายถึง ชุดของคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ ส่วนการเขียนโปรแกรม (programming) หมายถึง การเขียนชุดคำสั่งด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามโปรแกรมที่เราเขียนขึ้น

การวิเคราะห์งาน 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปในโปรแกรม 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ในโปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของโปรแกรม

ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น HTML เบื้องต้น โครงสร้างภาษา HTML ภาษา PHP เบื้องต้น ฝึกปฏิบัติการจำลองเครื่อง Server โดยใช้ EXAMPP

สัปดาห์ที่ 2 การเขียนผังงาน ความหมายของผังงาน “ผังงาน” (flowchart) ทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง แผนภาพที่เขียนขึ้นโดยใช้สัญลักษณ์มาตรฐาน เพื่อแสดงขั้นตอนวิธีการทำงานของโปรแกรม หรือระบบงานที่ต้องการ

ประเภทของผังงาน ผังงานสามารถจำแนกออกได้ 2 ประเภท คือ 1) ผังงานระบบ (system flowchart) หมายถึง ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนวิธีการทำงานของระบบงานใดระบบหนึ่ง ซึ่งในผังงานระบบจะแสดงให้เห็นถึงสื่อที่ใช้รับข้อมูล บันทึกข้อมูล วิธีการประมวลผล ขั้นตอนการทำงานและความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ ในระบบงานอย่างกว้าง ๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของระบบงานใดระบบงานหนึ่ง เช่น 2) ผังงานโปรแกรม (program flowchart) หมายถึงผังงานที่แสดงขั้นตอน วิธีการทำงานของโปรแกรมที่ต้องการเขียนขึ้น ภายในผังงานโปรแกรม จะแสดงให้เห็นขั้นตอน วิธีการทำงาน ของโปรแกรมอย่างละเอียด เพื่อให้คอมพิวเตอร ์สามารถทำงานตามที่เขียนไว้ในผังงานโปรแกรม ได้อย่างถูกต้อง โดยเราสามารถนำขั้นตอน วิธีการทำงานของโปรแกรมในขั้นการวิเคราะห์งาน มาเขียนเป็นผังงานโปรแกรมได้ทันที จากนั้นก็สามารถนำผังงานโปรแกรม ไปเขียนโปรแกรมตามที่ต้องการได้ ดังนั้นในเรื่องของการเขียนผังงาน ที่จะกล่าวต่อไปนี้จะเกี่ยวข้องกับผังงานโปรแกรมทั้งสิ้น

สัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้เขียนผังงานโปรแกรม สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute) และองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization) ได้ร่วมกันกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้เขียนผังงานโปรแกรม

Start / Stop Print ชุด Print Input Storage input Process Decision Monitor Storage input Decision Storage Process

สัปดาห์ที่ 3 การเขียนรหัสเทียม รหัสเทียม หรือซูโดโค้ด (Pseudo Code) คือ รหัสลำลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทึม โดยมีถ้อยคำหรือประโยคคำสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง

Pseudo Code) ซูโดโค้ด (การอธิบายขั้นตอนการประมวลผลโดยใช้ “วลีภาษาอังกฤษ” ในการแสดง อธิบาย หรือกำหนดลำดับการทำงาน Start Read Account Type Read Amount If (Account Type = ‘A’) Then Interest = Amt * 25% Else If (Account Type = ‘B’) Then Interest = Amt * 40% End If Write Interest End โปรแกรมคำนวณดอกเบี้ยตามประเภทบัญชี ข้อมูลเข้า : ประเภทบัญชี (Account Type) และจำนวนเงินฝาก (Amount) ประมวลผล : คำนวณดอกเบี้ยตามประเภทบัญชี ประเภทบัญชี A = 25% ประเภทบัญชี B = 40% ข้อมูลออก : พิมพ์จำนวนเงินดอกเบี้ยที่ได้รับ (Interest) ผังงาน (Flow Chart) การอธิบายขั้นตอนการประมวลผลโดย ใช้สัญลักษณ์ ในการแสดง ความหมาย หรือกำหนดลำดับการที่งาน ซูโดโค้ดและผังงาน โปรแกรมคำนวณดอกเบี้ยตามประเภทบัญชี ข้อมูลเข้า : ประเภทบัญชี (Account Type) และจำนวนเงินฝาก (Amount) ประมวลผล : คำนวณดอกเบี้ยตามประเภทบัญชี ประเภทบัญชี A = 25% ประเภทบัญชี B = 40% ข้อมูลออก : พิมพ์จำนวนเงินดอกเบี้ยที่ได้รับ (Interest) Start T,Amt T=‘A’ T=‘B’ Int = Amt*25% Int End Int = Amt*40% Yes Yes No No Start Read Account Type Read Amount If (Account Type = ‘A’) Then Interest = Amt * 25% Else If (Account Type = ‘B’) Then Interest = Amt * 40% End If Write Interest End Start T,Amt T=‘A’ T=‘B’ Int = Amt*25% Int End Int = Amt*40% Yes Yes No No ซูโดโค้ด

ผังงาน การเขียนซูโดโค้ด (Pseudo Code) 1. รับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get หรือ Input เช่น Read Radius 2. แสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write ,Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print Area 3. กำหนดค่าให้กับตัวแปร 3.1 กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรจะใช้ความ Set เช่น Set Sum = 0 3.2 กำหนดค่าทางได้จากการประมวลผลไวทตัวแปร จะใช้ เครื่องหมาย = เช่น Sum = 500 Vat = Sum * 0.07 0 Sum 500 Sum 35 Vat การเขียนซูโดโค้ด (Pseudo Code) การเขียน Pseudo Code 4. ปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น Area = (22/7) * R * R Total = (Number1 + Number2)/2 IF buffalo = “My friend” THEN Write “Yes My friend is buffalo” ELSE Write “I’m buffalo” END IF

สัปดาห์ที่ 4 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ความหมายของศัพท์ตรรกศาสตร์ คำว่า “ตรรกศาสตร์” ได้มาจากศัพท์ภาษาสันสฤตสองศัพท์ คือ ตรฺรก และศาสตฺร ตรรก หมายถึง การตรึกตรอง ความคิด ความนึกคิด และคำว่า ศาสตฺร หมายถึง วิชา ตำรา รวมกันเข้าเป็น“ตรรกศาสตร์” หมายถึง วิชาว่าด้วยความนึกคิดอย่างเป็นระบบ ปราชญ์ทั่วไปจึงมีความเห็นร่วมกันว่า ตรรกศาสตร์ คือ วิชาว่าด้วย การใช้กฎเกณฑ์ การใช้เหตุผล

การใช้เหตุผล วิชาตรรกศาสตร์นั้นมีนักปราชญ์ทางตรรกศาสตร์ได้นิยามความหมายไว้มากมาย นักปราชญ์เหล่านั้น คือ 1.พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน นิยามความหมายว่า “ตรรกศาสตร์ คือ ปรัชญาสาขาที่ว่าด้วยการวิเคราะห์และตัดสินความสมเหตุสมผลในการอ้างเหตุผล” 2.กีรติ บุญเจือ นิยามความหมายว่า “ตรรกวิทยา คือ วิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์การใช้เหตุผล” 3.”Wilfred Hodges” นิยามความหมายว่า “ตรรกศาสตร์ คือ การศึกษาระบบข้อเท็จจริงให้ตรงกับความเชื่อ”

ประพจน์ (Proposition) ประพจน์ คือ ประโยคที่เป็นจริงหรือเป็นเท็จเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ประโยคเหล่านี้อาจจะอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้

สัปดาห์ที่ 5 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น (ต่อ) ที่มาข้อมูล http://logic-computer.blogspot.com/

สัปดาห์ที่ 6 Structure Programming การโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง หรือ การโปรแกรมโครงสร้าง คือ การกำหนดขั้นตอนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานโดยมีโครงสร้างการควบคุมพื้นฐาน 3 หลักการ ได้แก่ การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision) และ การทำซ้ำ(Loop) ตำราหลายเล่มจะขยายความออกไปว่า Decision แยกเป็น If และ Case ส่วน Loop แยกเป็น While และ Until ถ้าแยกให้ละเอียดก็อาจได้ถึง 5 หลักการ แต่ในที่นี้ขอนำเสนอไว้เพียง 3 หลักการ ดังนี้ ที่มาข้อมูล https://itgenius.co.th/webboard/index.php?topic=332.0

2.1 การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) คือ การเขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ จะเขียนเป็นผังงาน(Flowchart) ในแบบตามลำดับได้ตามภาพ  2.2 การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision) คือ การเขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว  2.3 การทำซ้ำ(Repeation or Loop) คือ การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน(Flowchart) ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการ ถึงรูปแบบการทำงาน และใช้คำสั่งควบคุมด้วยตนเอง ตัวอย่างผังงานที่นำมาแสดงนี้เป็นการแสดงคำสั่งทำซ้ำ(do while) ซึ่งหมายถึงการทำซ้ำในขณะที่เป็นจริง และเลิกการทำซ้ำเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง

ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรม

สัปดาห์ที่ 7 ชนิดของข้อมูล ข้อมูลที่เป็นอักขระหรือข้อความ Character Data / Text ข้อมูลเชิงจำนวน Numerical Data ข้อมูลรหัส Code Data ข้อมูลวันที่ Date Data ข้อมูลภาพลักษณ์ Image Data ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว Moving Data ข้อมูลเสียง Voice Data

ฝึกปฏิบัติ

สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค

สัปดาห์ที่ 9 การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างและใช้ตัวแปรร่วม

สัปดาห์ที่ 10 ตัวดำเนินการทางตรรกะ

ฝึกปฏิบัติ

สัปดาห์ที่ 11 ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ

ฝึกปฏิบัติ

สัปดาห์ที่ 12 โครงสร้างเงื่อนไขและการวนซ้ำ ฟังก์ชั่นและพารามิเตอร์

ฝึกปฏิบัติ

สัปดาห์ที่ 13 โครงสร้างเงื่อนไขและการวนซ้ำ ฟังก์ชั่นและพารามิเตอร์

ฝึกปฏิบัติ

สัปดาห์ที่ 14 โครงสร้างเงื่อนไขและการวนซ้ำ ฟังก์ชั่นและพารามิเตอร์

ฝึกปฏิบัติ

สัปดาห์ที่ 15 โครงสร้างข้อมูลชนิดอาร์เรย์

ฝึกปฏิบัติ

สัปดาห์ที่ 16 โครงสร้างข้อมูลชนิดอาร์เรย์

ฝึกปฏิบัติ