พอลิเมอร์ (Polymer).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การใช้ประโยชน์จากแมลง
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ชนิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
การขอโครงการวิจัย.
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
SMS News Distribute Service
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
รักษ์โลก ลดร้อน ด้วยสองมือ EENT.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พอลิเมอร์ (Polymer)

หัวข้อการเรียนรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับพอลิเมอร์ 2. โครงสร้างของพอลิเมอร์ 3. การนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์

1. ความรู้เกี่ยวกับพอลิเมอร์ “สารพอลิเมอร์ (polymer) คือ โมเลกุลขนาดใหญ่มากประกอบด้วยอะตอม เป็นจํานวนหลายร้อยหลายพันอะตอมต่อกันด้วยพันธะเคมี พอลิเมอร์ธรรมชาติเป็นพื้นฐานของขบวนการแห่ง ชีวิตทั้งหมด ”

1.1 การเกิดพอลิเมอร์ “การเกิดของพอลิเมอร์นั้นมาจากการรวมตัวขององค์ประกอบที่เรียกว่า มอนอเมอร์ (Monomer) ซึ่งเป็นหน่วยเล็ก ๆ ซ้ำ ๆ กันประกอบกันเป็นพอลิเมอร์ดังภาพ”

1.2 ประเภทของพอลิเมอร์แบ่งตามการเกิด ก . พอลิเมอร์ธรรมชาติ “พอลิเมอร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเช่น โปรตีน แป้ง เซลลูโลส ไกลโคเจน กรดนิวคลีอิกและยางธรรมชาติ(พอลีไอโซปรีน)” เส้นใยจากฝ้าย ยางพารา เส้นใยจากไหม ขนแกะ โปรตีน เส้นใยจากธรรมชาติอื่น ๆ

ข . พอลิเมอร์สังเคราะห์ “พอลิเมอร์ที่เกิดจากการสังเคราะห์เพื่อใช้ประโยชน์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ไนลอน โฟมและกาว เป็นต้น” ยางสังเคราะห์ พลาสติก โฟม พีวีซี เส้นใยสังเคราะห์ กาว

1.3 ประเภทของพอลิเมอร์แบ่งตามชนิดของมอนอเมอร์ ก. โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) “พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน เช่น แป้ง (ประกอบด้วยมอนอเมอร์ที่เป็นกลูโคสทั้งหมด) พอลิเอทิลีน PVC (ประกอบด้วยมอนอเมอร์ที่เป็นเอทิลีนทั้งหมด)”

ข.โคพอลิเมอร์ (Copolymer) หรือ เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Heteropolymer) “พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์ต่างชนิดกันมารวมกันเป็นสายโซ่พอลิเมอร์ เช่นโปรตีน (ประกอบด้วยมอนอเมอร์ที่เป็นกรดอะมิโนต่างชนิดกัน ) พอลิเอสเทอร์ พอลิเอไมด์ เป็นต้น”

ข-1. โคพอลิเมอร์แบบสลับ (Alternating copolymers) กรณีของพอลิเมอร์ที่มาจากโมโนเมอร์ 2 ชนิด สามารถแบ่งได้ตามลักษณะการจัดเรียง ข-1. โคพอลิเมอร์แบบสลับ (Alternating copolymers) “ในสายโซ่โมเลกุลของพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ B เรียงสลับกันไปอย่างมี ระเบียบ” ข-2. โคพอลิเมอร์แบบสุ่ม (Random copolymers) “ในสายโซ่โมเลกุลของพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ ปะปนกันอย่างไม่มีระเบียบ”

ข-3. โคพอลิเมอร์แบบบล็อค (Block copolymers) “ในสายโซ่โมเลกุลพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ B ซึ่งแต่ละโมโนเมอร์ทั้ง 2 ชนิดพบว่าอยู่กันเป็นกลุ่ม ๆ ในสายโซ่พอลิเมอร์ ” ข-4. โคพอลิเมอร์แบบกราฟท์ (Graft copolymers) “ในสายโซ่โมเลกุลพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ B ซึ่งอาจจะมีสายโซ่พอลิเมอร์ A เป็นหลักและมีสายโซพอลิเมอร์ B แยกเป็นกิ่งออกไป”

สรุปการแบ่งชนิดตามการจัดเรียงของมอนอเมอร์

2. โครงสร้างของพอลิเมอร์ 2.1 พอลิเมอร์แบบเส้น (Chain length polymer) “พอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์สร้างพันธะต่อกันเป็นสายยาว โซ่พอลิเมอร์เรียงชิดกัน มากกว่าโครงสร้างแบบอื่น ๆ จึงมีความหนาแน่น และจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็งขุ่น เหนียวกว่า โครงสร้างอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น PVC พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีน ดังภาพ” High density polyethylene terepthalate

2.2 พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched polymer) “เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ยึดกันและแตกกิ่งก้านสาขา มีทั้งโซ่ส้ันและโซ่ยาว กิ่งที่แตกจาก พอลิเมอร์ของโซ่หลักทำให้ไม่สามารถจัดเรียงโซ่พอลิเมอร์ให้ชิดกันได้มาก จึงมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำ ยืดหยุ่นได้ ความเหนียวต่ำ โครงสร้างเปลี่ยนรูปได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ตัวอย่างพอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำ” polyethylene terepthalate

2.3 พอลิเมอร์แบบร่างแห (Cross -linked polymer) “เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ต่อเชื่อมกันเป็นร่างแห พอลิเมอร์ชนิดนี้มีความแข็งแกร่ง และเปราะหักง่าย ตัวอย่าง เบกาไลต์ เมลามีน ใช้ทำถ้วยชาม ดังภาพ” ตัวอย่างชามเมลามีน

3. การนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ 3.1 พลาสติก “เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่สังเคราะห์ขึ้นใช้แทนวัสดุธรรมชาติ พลาสติกบางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความร้อนก็อ่อนตัว พลาสติกบางชนิดแข็งตัวถาวร” พลาสติกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อน 3.1.1 เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) “เป็นพลาสติกที่ใช้กันแพร่หลายที่สุด ได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูปได้พลาสติกประเภทนี้โครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรงยาว มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์น้อย มีสมบัติพิเศษคือ เมื่อหลอมแล้วสามารถนำมาขึ้นรูปกลับมาใช้ใหม่ได้”

ตัวอย่างเทอร์โมพลาสติก โพลิเอทิลีน (Polyethylene: PE) “มีลักษณะขุ่น และทนความร้อนได้พอควร ใช้ทําถุงพลาสติกหรือทําตุ๊กตา ใช้เป็นส่วนประกอบของรถยนต์และฉนวนกันความร้อน” โพลิโพรพิลีน (Polypropylene: PP) “มีลักษณะแข็งกว่า โพลิเอทิลีนทนต่อสารไขมันและความร้อนสูงใช้ทำแผ่นพลาสติก ถุงพลาสติกบรรจุอาหารที่ทนร้อน”

โพลิสไตรีน (Polystyrene: PS) “มีลักษณะโปร่งใส เปราะ ทนต่อกรดและด่าง ไอน้ำและอากาศซึมผ่านได้พอควร ใช้ทำชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เครื่องใช้สำนักงาน” โพลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride: PVC) “มีสภาพแข็งเปราะและไม่ยืดหยุ่น สมบัติเช่น นี้ใช้ทำท่อน้ำ มีน้ําหนักเบา ทนต่อสารเคมี ฉนวนหุ้มไฟฟ้า รองเท้า อุปกรณ์ทางการแพทย์และแผ่นเสียง ไม่ควรจะนํามาบรรจุอาหารหรือทําขวดพลาสติก เพราะอาจมีสารตกค้างออกมาได้”

3.1.2 เทอร์มอเซต (Thermosetting) “เป็นพลาสติกที่มีโครงสร้างแบบตาข่าย หรือร่างแห ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิทนความร้อนและความดัน ไม่อ่อนตัวและเปลี่ยนรูปร่างไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภูมิสูงก็จะแตกและไหม้เป็นขี้เถ้าสีดำ” ตัวอย่างเทอร์มอเซตติง อีพ็อกซี (epoxy) “ใช้ใส่ในส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟ้า ใช้เคลือบผิวของพื้นและผนัง ใช้เคลือบผิวถนน เพื่อกันลื่น ใช้เป็นสารในการทำสีของแก้ว”

เมลามีน - ฟอร์มาลดีไฮด์เรซิน (Melamine - formaldehyde resin) “มีลักษณะแข็งมาก ไม่หลอมละลาย มีผิวหน้าที่แข็งทนต่อการขีดข่วนและทนต่อการเกาะของคราบน้ำชากาแฟได้ดี ดังนั้นจึงนิยมนํามาทําภาชนะพวกจานชามต่าง ๆ” พอลียูรีเธน (Polyurethane) “นิยมใช้ทําโฟมชนิดยืดหยุ่นและโฟมชนิดแข็ง จึงใช้เป็นฉนวนในกระติกน้ําแข็งหรือผนังตู้เย็น ทําส่วนประกอบของเรือเพื่อให้การลอยตัวดีขึ้นและทําน้ำยาเคลือบผิววัสดุป้องกันรอยขีดข่วนได้ดี”

3..2 ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ 3.2.1. ยางธรรมชาติ “เป็นสารพอลิเมอร์ชนิดหนึ่งซึ่งได้มาจากต้นไม้ น้ำยางธรรมชาติจะมีลักษณะเป็นสีขาวเหมือนน้ำนม ยางธรรมชาติ เกิดจากโมเลกุลของไอโซปรีนหลาย ๆ โมเลกุลมาต่อกันเป็นสายพอลิเมอร์”

ตัวอย่างยางสังเคราะห์ 3.2.2. ยางสังเคราะห์ “สาเหตุที่ทำให้มีการผลิตยางสังเคราะห์ขึ้นในอดีต เนื่องจากการขาดแคลนยางธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์และปัญหาในการขนส่งจากแหล่งผลิตในช่วงสงครามโลกคร้ังที่ 2 จนถึงปัจจุบันได้มีการพัฒนาการผลิตยางสังเคราะห์ เพื่อให้ได้ยางที่มีคุณสมบัติตามต้องการในการใช้งานที่สภาวะต่าง ๆ เช่น ที่สภาวะทนต่อน้ำมัน ทนความร้อน ทนความเย็น เป็นต้น” ตัวอย่างยางสังเคราะห์ ยางสไตรีนบิวตาไดอีน (Styrene-Butadiene Rubber, SBR) “สารพอลิเมอร์ชนิดนี้มีประโยชน์มาก ยืดหยุ่นและทนต่อการแตกสลายได้ดี ยางชนิดนี้ส่วนใหญ่ใช้ทําอุปกรณ็กีฬาและผสมทํายางรถยนต์”

ยางบิวตาไดอีน (Butadiene Rubber, BR) “มีสมบัติเด่นด้านความยืดหยุ่น ความต้านทานต่อการขัดถูความร้อนสะสมในยางต่ำส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมยางล้อ เพราะเป็นยางที่มีความต้านทานต่อการขัดถูสูง และนำไปทำใส้ในลูกกอล์ฟและลูกฟุตบอลเนื่องจากมีสมบัติด้านการกระเด้งตัวที่ดี”

3..3 เส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์ “เส้นใย (Fibers) คือ พอลิเมอร์ชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างของโมเลกุลสามารถนำมาเป็นเส้นด้าย หรือเส้นใย จำแนกตามลักษณะการเกิดได้ดังนี้” 3.3.1. เส้นใยธรรมชาติ เส้นใยเซลลูโลส เส้นใยโปรตีน เส้นใยไหม

3.3.2.เส้นใยสังเคราะห์ ไนลอน (Nylon) เรยอน (Rayon) “สารไนลอนเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง ซึ่งถูกพัฒนามาจากการสังเคราะห์ยาง ประโยชน์ของไนลอนสามารถใช้แทนผ้าไหม ทําเสื้อผ้า ใช้ทําพรม หวีแปรงผมและเครื่องใช้สุขภัณฑ์ต่างๆ” เรยอน (Rayon) “มนุษย์ได้มีการปรับปรุงเส้นใยเรยอนให้มีประสิทธิภาพการใช้งานให้ดีขึ้น โดยการนําเอาเซลลูโลสมาทําปฏิกิริยากับคาร์บอนซัลไฟด์และโซเดียมไฮดรอกไซด์”