ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สกลนครโมเดล.
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
กลุ่มเกษตรกร.
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ ในพื้นที่บริการสุขภาพที่ 9 ปี 2555- 2557 กัลยาณี จันธิมา , สส.ม., พญ.ผลิน กมลวัทน์, พ.บ., ปิยะพร มนต์ชาตรี พยบ. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา คำสำคัญ : วัณโรคดื้อยาหลายขนาน ,ความสำเร็จการรักษา ปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติจากการผ่าเหล่าของเชื้อวัณโรค การเคยได้รับการรักษาด้วยยาสูตรมาตรฐานที่ไม่ครบ ไม่ต่อเนื่องกินๆ หยุดๆ หรือการติดเชื้อดื้อยาตั้งแต่แรกตลอดจนพบในผู้อพยพเข้ามาจากประเทศที่มีความชุกของโรคสูง การติดต่อจากผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ทำให้มีการแพร่ระบาดในชุมชนหรือโรงพยาบาล จากการศึกษาของอติภา กมลวัทน(1) ซึ่งศึกษาในสถานบริการในจังหวัด นครราชสีมา สุรินทร์ ชัยภูมิและบุรีรัมย์ พบว่า อัตราการดื้อยาหลายขนานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปีระหว่างปี พ.ศ.2546-2550 เป็น 0.7, 0.5, 1.4, 1.2 และ 6.0 ตามลำดับ วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาแบบ ข้อมูลที่นำมาศึกษาเป็นผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานที่ได้รับการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการและสามารถติดตามประวัตินำมาวิเคราะห์ได้จำนวน 157 คน ในโรงพยาบาลศูนย์ 4 แห่ง ในจังหวัดนครราชสีมา สุรินทร์ ชัยภูมิและบุรีรัมย์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการรักษาและรายงานที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลทั่วไปและผลการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อผลการรักษาวัณโรคดื้อยาไม่สำเร็จใช้ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ไม่สำเร็จในพื้นที่บริการสุขภาพที่ 9 ระหว่างปีพ.ศ. 2555 – 2557 ผลการวิจัย ตารางที่ 2 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานที่ไม่สำเร็จ จำแนกตามปัจจัยแสดงความสัมพันธ์ ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ปัจจัย จำนวน (n=157) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง 109 48 69.4 30.6 อายุ 17-86 ปี เฉลี่ย 50 ปี S.D. =16 ประเภทการขึ้นทะเบียนรักษา   ผู้ป่วยใหม่ 32 20.3 กลับเป็นซ้ำ 42 26.8 รักษาซ้ำภายหลังล้มเหลว 69 44.0 ขาดยา 14 8.9 ผลการรักษา หาย 31 19.25 ครบ ล้มเหลว 6 5.7 ตาย 12 7.6 11 7.0 ไม่นำมาประเมิน 63 40.1 การสูบบุหรี่ ไม่เคยสูบแต่เลิก 83 52.8 เคยสูบแต่เลิก 68 43.4 ปัจจุบันยังสูบ 3.8 ประวัติการต้องโทษ ไม่เคย เคย 149 8 94.9 5.1 โรคประจำตัว ไม่มี 111 70.7 เบาหวาน 17 10.8 ความดันโลหิตสูง อื่นๆ 18 11.5 การติดเชื้อเอชไอวี ติดเชื้อเอชไอวี 13 8.3 ไม่ติดเชื้อเอชไอวี 144 91.7 คุณลักษณะส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างจำนวน 157 ราย พบว่า เป็นเพศชายร้อยละ 69.4 มีอายุเฉลี่ย 50 ปี S.D.=16.0 ส่วนใหญ่มีประวัติเคยรักษาวัณโรคมาก่อน ร้อยละ 79.7 เป็นกลุ่มผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก มากที่สุดร้อยละ 91.1 มีเบาหวานเป็นโรคร่วมร้อยละ 29.3 และพบการติดเชื้อ HIV ร้อยละ 8.3 มีผลการรักษาสำเร็จร้อยละ 39.5 กำลังรักษาร้อยละ 40.1 รักษาไม่สำเร็จร้อยละ 20.3 ซึ่งเป็นผลมาจาก การขาดยา รักษาล้มเหลวและการเสียชีวิต คิดเป็นร้อยละ 7.0, 5.7 และ 7.6 ตามลำดับ การมีอายุน้อยกว่า 50 ปี (RR=0.28, 95%CI: 0.05-0.38) เป็นปัจจัยป้องกันการเกิดผลการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ สรุปผล ดังนั้นการให้คำปรึกษาและความรู้ในการดูแลตนเองในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 50 ปีและผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นเบาหวานร่วมอย่างเคร่งครัด จะสามารถลดอัตราเสี่ยงต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จได้ การนำไปใช้ประโยชน์ ผลการศึกษานี้ใช้ในการวางแผนการจัดรูปแบบ การให้บริการและติดตามผู้ป่วย MDR-TB ทั้งในคลินิกวัณโรคในโรงพยาบาลและในชุมชน เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้ป่วยกลุ่มนี้ต่อไปซึ่งจะสำเร็จได้ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายทั้งตัวผู้ป่วย แพทย์ ชุมชนและครอบครัวผู้ป่วย การพัฒนาทางห้องปฎิบัติการ รวมทั้งนโยบายระดับประเทศทั้งงบประมาณและกำลังคนการตระหนักถึงปัญหานี้ดีกว่าคอยให้เกิดปัญหาMDR-TBที่ลุกลามและยากต่อการควบคุมในอนาคต เอกสารอ้างอิง 1.อติภา กมลวัทน์, นาตยา พันธุ์รอด, และเศวต ช านาญกรม. (2551). สถานการณ์วัณโรคดื้อยาใน สถานบริการเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 13 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2550.วารสารวัณ โรค โรคทรวงอกและเวชบ าบัดวิกฤต, 29(3), 199-206. . .