ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ โดย ดร.อัมพร จันทวิบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักสุขาภิบาลอาหาร ลป.รร.การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ภาคใต้ 25 เมษายน 2560
วิวัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย แผนสลว.3 60-64 โครงการควบคุมโรค คุดทะราด โครงการสุขาภิบาลอาหาร นโยบายสุขภาพดีถ้วนหน้า เมืองน่าอยู่ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ประชุมส่งเสริมสุขภาพโลกครั้งที่ 6 โครงการ วิจัยครอบครัว อ.โพธาราม สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ชั่งน้ำหนักเด็ก 0-5 ปี ทั่วประเทศตั้งกองทุนโภชนาการ แผนสลว.1 52-54 ปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข คนไทยไร้พุง ปฏิรูปกระทรวง รวมหน่วยงาน แผนสลว.2 55-59 จปฐ. 2499 06 14 17 23 25 26 31 35 42 45 48 51 52 55 60 แผน1 04-09 มุ่งขจัดปัญหาความยากจน แผน2 10-14 แผน3 15-19 แผน4 20-24 แผน5 25-29 แผน6 30-34 แผน7 35-39 แผน8 40-44 แผน9 45-49 เศรษฐกิจพอเพียงคนเป็นศูนย์กลาง แผน10 50-54 แผน11 55-59 แผน12 60-64 เร่งรัดพัฒนาประเทศให้ทันสมัย ลดเหลื่อมล้ำ สร้างเป็นธรรม 2491 08 08 10 16 23 24 26 28 38 43 47 50 52 58 Ottawa Charter โครงการควบคุมโรคคอพอก โครงการสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก สปรส. สุดยอดส้วมมาตรฐาน HAS รร.ส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ โครงการกำจัด ไข้ทรพิษ โครงการรพ.สายสัมพันธ์แม่ลูก สำรวจภาวะโภชนาการอาหาร ปปช. วาระแห่งชาติ คนไทยแข็งแรงเมืองไทยอยู่เย็นเป็นสุข แผนอาหารโภชนาการแห่งชาติ ทศวรรษแห่ง การจัดหา น้ำสะอาดและการสุขาภิบาล ร.ร. ส่งเสริมสุขภาพ รพ.สายใย รักแห่งครอบครัว โครงการ อาชีวอนามัย Challenge Change Continue
ปัจจุบัน...อนาคตประเทศไทย
LE = 85 ปี HALE = 75 ปี
แผน 20 ปี กสธ. 4E –MOPH 4.0 ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข ประเทศไทย 4.0 แผนปฏิรูป ประชารัฐ กรอบแนวคิด 4E –MOPH 4.0 ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) สู่ความยั่งยืน Phase3 (2570-2574) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579) 5 ปชช.สุขภาพดี/จนท./ระบบสุขภาพ
เป็นองค์กรหลักของประเทศใน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน ประชาชนสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายและเจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบอนามัยยั่งยืน (ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) 7
Time line Timing Environment Equity
แนวคิดการดำเนินงาน อาหาร เป้าหมาย: อาหารที่จำหน่ายจากแผงลอยจำหน่ายอาหาร ปลอดภัยต่อการบริโภค (ขยายต่อจาก 12 เมืองต้องห้ามพลาด) จนท. ควบคุมดูแล ความปลอดภัยของอาหาร อาหาร มีคุณภาพ และ ความปลอดภัย ผู้ประกอบการผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย Health Literacy เกณฑ์มาตรฐาน/SOP เครื่องมือ (ชุดตรวจ/App) ความร่วมมือของหน่วยงาน มีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติถูกต้อง มีความตระหนัก มีภาคี เครือข่าย Leading นโยบายของหน่วยงานรัฐ : Zoning area + facilities (น้ำ น้ำเสีย ขยะ ห้องส้วม) Law & Regulation - ปรับปรุงพัฒนาข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ และการบังคับใช้ Partnership –ความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการ (ความต่อเนื่อง พัฒนา สนับสนุนเสริมศักยภาพ) Social Marketing-เสริมสร้างความเข้มแข็งผู้บริโภคในการเลือกบริโภค/ซื้ออาหารที่ปลอดภัย ผู้บริโภค มีความรู้/ ตระหนักในการเลือกซื้ออาหาร
อาหาร/น้ำสะอาด ที่ ปชชเข้าถึงได้ ทุกกลุ่มวัยบริโภคอาหารสะอาดปลอดภัย เป็นธรรม (เมือง/ชนบท) Inclusive Growth Engine การส่งออก แหล่งท่องเที่ยว (ครัวโลก) Productive ทุกกลุ่มวัยบริโภคอาหารสะอาดปลอดภัย Green ทิศทางการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) Thailand 4.0 การขับเคลื่อนการดำเนินงานแบบบูรณาการทุกภาคส่วน Function < Agenda < Area
26,999.9704 ล้านบาทป็นงบดำเนินการ 20 2,405.1598 ล้านบาท 2,207.4126 ล้านบาท 1,004.7305 ล้านบาท
สถานการณ์การประเมินด้วยกลไกการดำเนินงาน กรมอนามัย/สสจ./อปท. ระดับความสำเร็จร้อยละ 0-39 ระดับความสำเร็จร้อยละ 40-79 ระดับความสำเร็จร้อยละ 80-100
ข้อเสนอดำเนินงาน : ตลาดประเภทที่ 1 ตลาดประเภทที่ 1 จำนวน 1,565 แห่ง ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อ ระดับดี จำนวน 1,106 แห่ง ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อ ระดับดีมาก จำนวน 245 แห่ง ไม่ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อ จำนวน 214 แห่ง (ร้อยละ 13.67) มีนาคม 2558 ตลาดประเภทที่ 1 (ค้าส่ง) จำนวน 23 แห่ง บูรณาการส่วนกลาง(กรมอ.+อย+วิทย์) ต้นทาง สร้างกระแส ตลาดทั่วไปดำเนินการโดยการบูรณาการส่วนภูมิภาค (ศูนย์วิชาการ+ สสจ+ อปท./อบต.)
สถานการณ์น้ำบริโภค
แผนยุทธศาสตร์บูรณาการที่เกี่ยวข้องงานสุขาภิบาลอาหาร Food safety ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำ การบรรลุเป้าหมายใน SDG 6.2
6 ก้าวสำคัญในปี 60 พัฒนาวิชาการ เพื่อแก้ปัญหา เร่งสร้าง นวัตกรรม เปลี่ยน ภาพ กระบวน ทัศน์ เคร่งครัด เอกภาพ พัฒนาวิชาการ เพื่อแก้ปัญหา (นวัตกรรม) ขับเคลื่อน ไปพร้อมๆ กัน เน้นภาคีเครือข่าย ใส่ใจ ระบบ คุณภาพ ปรับ กระบวนทัศน์ จาก Program Base เป็น Area Base เกื้อกูล สร้าง กลไก เร่ง พัฒนา ข้อมูล พัฒนาระบบคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) อนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม
ช่วงหลัง
SMART Local Authority
SMART LA มีคุณสมบัติอย่างไร เป้าหมาย: จังหวัดสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองได้ SMART Data Center and Surveillance SMART Local Authority SMART Personal SMART Network
SMART LA มีคุณสมบัติอย่างไร SMART Data Center and Surveillance มีระบบฐานข้อมูล และระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นเลิศ SMART Personal มีบุคลากรที่มีศักยภาพด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม SMART Network มีเครือข่ายดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ประเด็นการตรวจราชการที่เกี่ยวข้อง 8. สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาล อาหารของกรมอนามัย ในระดับพื้นฐาน 9. ร้อยละ 80 ของร้านอาหารในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ของกรมอนามัย 10. จัดให้มีบริการน้ำดื่มสะอาดที่อาคารผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน การลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้บริโภค อาหาร เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มอาหารสด ได้แก่ ผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์สด กลุ่มอาหารแปรรูป ได้แก่ น้ำบริโภคในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิทผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารนมโรงเรียนผลิตภัณฑ์จากแป้ง (เส้น ก๋วยเตี๋ยว (ชนิดเส้นสด)/ผลิตภัณฑ์เส้นบะหมี่/ เกี๊ยวขนมจีน) และน้ำมันที่ใช้ทอดอาหาร
“องค์กรหลักในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิงแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี”