อาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม Genetically Modified Foods : GM Foods
เภสัชกร วิษณุ ทรัพย์วิบูลย์ชัย รหัส 43075688 เภสัชกร ศรากร แก้วมีชัย รหัส 43075811
หัวข้อที่นำเสนอ ความหมายของ GM Foods วิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรม วิธีการตรวจหา GMOs ในพืช และ อาหาร ตัวอย่างของ GM Foods การประเมินความปลอดภัยของGM Foods การแสดงฉลากของ GM Foods นโยบายของไทยและต่างประเทศต่อ GM Foods บทสรุป
Genetically Modified Organisms ( GMOs) คืออะไร ? สิ่งมีชีวิตที่ได้จากการดัดแปลงสารพันธุกรรม คือ DNA ซึ่งเกิดขึ้นโดยมนุษย์ และใช้กรรมวิธีทางพันธุวิศวกรรมเท่านั้น สิ่งมีชีวิตที่ว่านี้อาจเป็น จุลินทรีย์ สัตว์ หรือ พืช
Genetically Modified Foods (GM Foods) คืออะไร ? อาหารที่ได้จาก GMOs ส่วนใหญ่ที่ได้รับการกล่าวถึงในปัจจุบัน คือ พืช
วิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรม Recombinant DNA Technology Restriction Enzyme
Restriction Enzyme EcoRI Escherichia coli Restriction Enzyme Source EcoRI Escherichia coli BamHI Bacillus amyloliquefaciens HindIII Haemophilus influenzae MstII Microcoleus species
Restriction Enzyme TaqI Thernius aquaticus NotI Nocardia otitidis Restriction Enzyme Source TaqI Thernius aquaticus NotI Nocardia otitidis AluI Arthrobacter luteus
ยีนที่นิยมนำมาใช้ในการตัดต่อ ยีนที่ควบคุมการสร้าง phosphinothricin acetyltransferase ได้จาก Streptomyces viridochromogenes ควบคุมการสร้างโปรตีนที่ต้านทานยาฆ่าแมลง Glufosinate ยีน cry9C ได้จาก Bacillus thuringiensis ควบคุมการสร้างโปรตีนที่มีพิษต่อแมลง
ยีนที่นิยมนำมาใช้ในการตัดต่อ ยีน nitrilase ได้จาก Klebsiella ozaenae ควบคุมการสร้างโปรตีนที่ต้านทานยาฆ่าแมลง Bromoxynil ได้
วิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรม ใช้จุลินทรีย์ชนิดพิเศษ ที่นิยมใช้ คือ Agrobacterium spp. Plasmid ligase enzyme ใช้ปืนยิงยีน ( Gene Gun )
การใช้ agrobacterium เพื่อพายีนที่ถูกดัดแปลงเข้าไปในเซลล์
ตัวช่วยให้ยีนที่ใส่เข้าไปทำงานได้ ตัวควบคุมการทำงานของยีนให้เริ่มต้น ( promoter ) CaMV 35S promoter ตัวควบคุมการทำงานของยีนให้ยุติ ( terminator ) NOS terminator ตัวบ่งชี้การปรากฏของยีน ( marker gene ) ยีนที่สามารถต้านยาปฏิชีวนะ
โครงสร้างของยีนที่เป็นส่วนประกอบหลักของ GMOs
วิธีการตรวจหา GMOs ในพืชหรืออาหาร Polymerase Chain Reaction ( PCR ) ใช้ในการประเมินเชิงคุณภาพ ELISA ใช้วิเคราะห์เชิงปริมาณ
ตัวอย่างอาหาร GM Foods ถั่วเหลือง ที่ทนต่อยากำจัดวัชพืช และมีผลผลิตสูงกว่าปกติ ข้าวโพด ที่ทนแมลงและยากำจัดวัชพืช ฝ้าย BT ซึ่งมีคุณสมบัติในการฆ่าหนอนเจาะสมอฝ้ายได้ มะละกอ ที่ต้านทานไวรัสได้ มะเขือเทศและแคนตาลูป ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ ในการชะลอการสุกงอม
ตัวอย่างอาหาร GM Foods มันฝรั่ง ซึ่งทนต่อแมลงและไวรัส Sugar Beet ที่ทนต่อยากำจัดวัชพืช Glyphosate Canola ที่ทนต่อยากำจัดวัชพืช Glufosinate ผัก Radicchio rosso ที่เกสรตัวผู้เป็นหมัน เอนไซม์ ไคโมซิน ที่ใช้ในการผลิตเนยแข็ง
การประเมินความปลอดภัยของ GM Foods หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ ( Substantial Equivalence Concept )
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ 1 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงว่ามีสาระสำคัญ เท่ากันกับอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารที่มีอยู่เดิม
ข้อมูลที่ทำการประเมินประกอบด้วย Host Inserted DNA Modified organism Phenotype characteristics Compositional comparison
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ 2 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงว่ามีสาระสำคัญเท่ากันกับอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารที่มีอยู่เดิมเว้นแต่มีข้อแตกต่างที่แสดงให้เห็นชัดเจน (defined differences)
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ 3 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงสาระสำคัญไม่เท่ากันกับอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารที่มีอยู่เดิม
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ ในกรณีที่แสดงความไม่เท่าเทียมกันในสาระสำคัญ ก็ไม่ได้หมายความว่าผลิตภัณฑ์ไม่ปลอดภัย การทดสอบความปลอดภัยนั้นควรมีการออกแบบกรณี ๆ ไป ตามคุณลักษณะอ้างอิงของอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารนั้น และควรมีการศึกษาปัญหาเกี่ยวกับอาการแพ้ที่เกิดขึ้นจากใช้เทคนิคการดัดแปลงสารพันธุกรรมในอาหารนั้นด้วย
การแสดงฉลาก
Codex ในการควบคุม และแสดงฉลากของอาหารที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงยีนนั้น ปัจจุบันหน่วยงานร่วมของ WHO/FAO คือคณะกรรมาธิการมาตราฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex Alimentation Commission) กำลังอยู่ในระหว่างการกำหนดระเบียบและวิธีการในการควบคุม
สหรัฐอเมริกา การเปลี่ยนแปลงยีน (Genetic Modification) สารที่เป็นพิษ (Toxicants) สารอาหาร (Nutrients) สารชนิดใหม่ (New substance)
กลุ่มสหภาพยุโรป ให้มีการแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์ที่มี หรือประกอบด้วย หรือได้มาจาก “จีเอ็มโอ” ฉลากมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภคที่ชัดเจนเป็นจริง และเป็นกลาง การแสดงฉลากบังคับ โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์
กลุ่มสหภาพยุโรป เพื่อให้ปฏิบัติตามได้อย่างง่าย การแสดงฉลากต้องมีความเหมาะสม มีกฎของการเสดงฉลากที่รัดกุม
กลุ่มสหภาพยุโรป ผลิตภัณฑ์ที่ปราศจาก “จีเอ็มโอ” สามารถวางตลาดโดยไม่ต้องระบุในฉลาก สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองว่าไม่มี “จีเอ็มโอ” ถ้าต้องการระบุในฉลากจะต้องเป็นไปตามข้อกฎของ อียู
กลุ่มสหภาพยุโรป สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มี “จีเอ็มโอ” มีทางเลือกแสดงฉลาก 2 ทาง คือ 1. “ประกอบด้วยวัตถุที่เป็นจีเอ็มโอ” สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มี “จีเอ็มโอ” และต้องพิสูจน์ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2. หรืออีกแนวทางหนึ่ง เช่น “อาจประกอบด้วย…”
คณะกรรมการว่าด้วยพืชเสนอทางเลือกในการแสดงฉลาก
การสมัครใจแสดงฉลาก เช่น “ผลิตภัณฑ์นี้ ไม่ได้ประกอบด้วย…” สำหรับผลิตภัณฑ์ที่รับรองแล้วว่าปราศจากจีเอ็มโอ การบังคับแสดงฉลาก เช่น “ผลิตภัณฑ์นี้ อาจประกอบด้วย…” ในกรณีที่ไม่สามารถแยกวัตถุดิบได้ และไม่มีหลักฐานแสดง
คณะกรรมการว่าด้วยพืชเสนอหลักการแสดงฉลากGMOsใหม่
มีการตั้งระดับปริมาณจีเอ็มโอ ที่มีอยู่ในส่วนประกอบของอาหารโดยบังเอิญ โดยกำหนดเป็นขั้นต่ำ 1 % สำหรับส่วนประกอบของอาหาร ซึ่งการแสดงฉลากปัจจุบัน ครอบคลุมถึงถั่วเหลืองและข้าวโพด ถ้ามีการรับรองอาหารจีเอ็มโอชนิดใหม่ ก็จะต้องใช้หลักการเดียวกันนี้
ต่อ เกณฑ์ขั้นต่ำ ที่เสนอนั้น ใช้ปฏิบัติเฉพาะสำหรับวัตถุที่เตรียมไว้สำหรับการบริโภคของคน และใช้เฉพาะในกรณีดังต่อไปนี้ ที่มาของ “จีเอ็มโอ” ต้องเกิดจากเหตุบังเอิญ หมายความว่า ผู้ปฏิบัติ ต้องแสดงหลักฐานว่า เขาได้พยายามหลีกเลี่ยงการใช้ “จีเอ็มโอ” แล้ว
ญี่ปุ่น พืช GMOs ซึ่งมีสาระสำคัญไม่เท่ากับอาหารที่มีอยู่เดิมตามธรรมชาติ และอาหารสำเร็จรูป ที่ผ่านกรรมวิธีผลิต ต้องมีการแสดงฉลาก โดยเฉพาะ ถั่วเหลือง ที่มี oleic acid สูง ฉลากบังคับแสดงว่า “High Oleic Acid/GMO”
ญี่ปุ่น อาหารที่มีปริมาณของ GMOs เป็นส่วนประกอบ จะต้องแสดงฉลากว่า GMO-used อาหารที่ไม่มีปริมาณของ GMOs เป็นส่วนประกอบ จะต้องแสดงฉลากว่า GMO non-separated
การควบคุมอาหาร
แนวความคิดหลักในการควบคุม หรือบริหาร จัดการ GMOs หรือ ผลิตภัณฑ์จาก GMOs ให้ มีความปลอดภัย คือ “ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety)” "ความปลอดภัยของอาหาร (food safety)"
ญี่ปุ่น หลักการในการควบคุม 2 ประเด็นคือ การประเมินความปลอดภัยก่อนออกสู่ท้องตลาด กระบวนการผลิตต้องเป็นไปตามมาตราฐาน
การแสดงฉลากอาหารที่ได้จากการตัดแต่งสารพันธุกรรมและอาหารที่มีสารก่อให้เกิดการแพ้
อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก GM Applicable Crops ที่ปัจจุบันได้มีการตัดแต่งสารพันธุกรรม แสดงข้อความ “genetically modified varieties segregated”
อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก Applicable Crops ที่ไม่มีระบบการคัดแยกส่วนที่เป็น GM และ Non – GM ในระหว่างการขนส่งการผลิตและการแปรรูป แสดงข้อความ “genetically modified varieties not segregated”
อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก Non – GM Applicable crop ยืนยันว่ามีระบบการจัดการคัดแยก แสดงข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้ - แสดงชื่อส่วนประกอบ โดยไม่มีวงเล็บ - แสดงข้อความ "non – genetically modified varieties segregated”
นโยบายจีเอ็มโอนานาชาติ
ญี่ปุ่น อาหารที่แสดงฉลาก แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามแผน คือ 1. อาหารที่เสริมคุณค่าของอาหาร โดยผลิตขึ้นจากจีเอ็มโอ 2. อาหารจีเอ็มโอ ที่มีปริมาณสารอาหารเพิ่มขึ้น (อาหารส่วนมากที่ต้องแสดงฉลาก จะตกอยู่ในกลุ่มนี้) 3. อาหารที่ไม่ทราบส่วนผสมของวัตถุดิบจากธรรมชาติ และจากจีเอ็มโอ ต้องแสดงฉลาก แจ้งให้ผู้บริโภคทราบว่า มีวัตถุดิบจากจีเอ็มโออยู่ แต่ไม่ได้แสดงรายละเอียด
เกาหลีใต้ กำลังพิจารณาเลือกซื้อข้าวโพดจากประเทศจีนแทนการซื้อจากสหรัฐอเมริกา ใช้กฎหมายควบคุมคุณภาพการเกษตรและประมง เพื่อควบคุมการแสดงฉลากจีเอ็มโอ เพื่อหลีกเลี่ยงเมล็ดพืชจีเอ็มโอ
ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์ ได้เสนอแนะมาตรฐานการบังคับใช้ฉลาก คล้ายกับที่ใช้ในสหรัฐ ขึ้นอยู่กับสารก่อภูมิแพ้ และการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพสารอาหาร และส่วนประกอบของอาหาร
สหภาพยุโรป (อียู) การบังคับใช้ฉลากสำหรับวัตถุดิบถั่วเหลืองและข้าวโพดจีเอ็มโอ ให้มีผลบังคับใช้ การควบคุมได้กำหนดเฉพาะว่า ภาชนะบรรจุใด ผลิตขึ้นสำหรับผลิตภัณฑ์ที่มี ถั่วเหลืองและข้าวโพดจีเอ็มโอ จะต้องมีอักษรแสดงอย่างชัดเจนว่า “ได้รับการเปลี่ยนแปลงยีน”
แคนนาดา เป็นประเทศที่ผลิตเมล็ดพืชจีเอ็มโอมากเป็นอันดับสอง รองจากอเมริกา และกฎหมายการแสดงฉลากคล้ายๆกับสหรัฐอเมริกา
เม็กซิโก เป็นผู้นำการผลิตแป้งข้าวโพด ประกาศว่า จะหลีกเลี่ยงการนำเข้าข้าวโพดดัดแปลงยีน ปีกลาย เม็กซิโกนำเข้าข้าวโพดจากสหรัฐถึง 500 ล้านเหรียญ
บราซิล ผู้พิพากษาประจำรัฐในบราซิล สั่งห้ามการซื้อขาย และการใช้เมล็ดถั่วเหลือง
สหราชอาณาจักร มีความคืบหน้ามากที่สุดของกลุ่มอียู. ในการวางระเบียบควบคุมการใช้จีเอ็มโอ ในกลุ่มอียู. รัฐบาลอังกฤษกำหนดให้เดือนกันยายน 1999 เป็นเดือนที่บังคับใช้กฎหมาย ให้ภัตตาคารทุกแห่ง และผู้จำหน่ายอาหาร ต้องแสดงฉลากผลิตภัณฑ์อาหารจีเอ็มโอ
สหรัฐอเมริกา จะแสดงฉลากต่อเมื่อผลิตภัณฑ์ประกอบด้วยสารภูมิแพ้ที่รู้จักและอยู่ในส่วนประกอบของอาหารที่ถูกเปลี่ยนแปลง
ข้อดีของ GMOs ทำให้เกิดสายพันธ์ใหม่ที่มีความต้านทานต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดพืชสายพันธ์ใหม่ที่มีคุณสมบัติเหมาะแก่การเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน
ข้อดีของ GMOs ทำให้เกิดธัญพืช ผัก หรือผลไม้ที่มีคุณสมบัติเพิ่มขึ้นในทางโภชนาการ ทำให้เกิดพันธ์พืชใหม่ๆ ที่มีคุณค่าในเชิงพาณิชย์ คุณสมบัติชองพืชทำให้ลดการใช้สารเคมี
ข้อเสียของ GMOs สารอาหารที่มีการปนเปื้อนจาก GMOs อาจมีสิ่งปนเปื้อนที่เป็นอันตราย ความกังวลในเรื่องการเป็นพาหะของสารพิษ สารอาหารจาก GMOs อาจมีคุณค่าทางโภชนาการไม่เท่ากับอาหารปกติในธรรมชาติ ความกังวลต่อการเกิดสารภูมิแพ้
ข้อเสียของ GMOs สารพิษบางชนิดที่ใช้ปราบศัตรูพืช เช่น Bt toxin อาจมีผลกระทบต่อแมลงที่มีประโยชน์ชนิดอื่น ความกังวลต่อการถ่ายเทยีนออกสู่สิ่งแวดล้อม เกิดการชี้นำกสิกรรมของโลกโดยบริษัทฯผู้ผลิตเมล็ดพันธ์ที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม Bt = Bacillus thuringiensis
ความหวั่นวิตกเกี่ยวกับเรื่องของหน่วยพันธุกรรม ทำให้ความหลากหลายของหน่วยพันธุกรรมลดลง ถ้ามีการ Integrate ของ gene จาก GMOs เข้าไปใน cells ของมนุษย์ จะทำให้มนุษย์ และสัตว์มีความต้านทานต่อสาร antibiotic
ความหวั่นวิตกเกี่ยวกับเรื่องของหน่วยพันธุกรรม ถ้าเกิดความผิดพลาดในการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรมแล้ว จะไม่สามารถถ่ายหรือล้างกลับได้ และจะคงอยู่กับสิ่งมีชีวิตใหม่และแพร่พันธ์ต่อไปตลอดทุกชั่วอายุ เกิดการทำลายแมลง นก สัตว์ป่า ฯลฯ โดยธัญพืชพันธ์ใหม่ที่จะขยายและกระจายไปทั่วโลกโดยไม่สามารถควบคุมได้
GMOs กับ ประเทศไทย การผลิตอาหารใช้วิธีการปกติ ซึ่งไม่ใช่การตัดต่อสารพันธุกรรม จะเป็นจุดแข็งของประเทศไทย สำหรับการผลิตอาหารที่ได้จากการตัดต่อสารพันธุกรรม พัฒนาอยู่ในระดับงานวิจัยยังไม่สามารถแข่งขันกับประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐฯ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น หากไทยยอมรับอาหารที่ได้จาก GMOs นี้ เกษตรกรหรือผู้ผลิตอาหารของไทยน่าจะเป็นฝ่ายซื้อเทคโนโลยี
GMOs กับ ประเทศไทย หากเป็นอาหาร GMOs นำเข้ามาในประเทศไทยเพื่อแปรรูปเป็นอาหารสำเร็จรูปแล้วส่งออก จะต้องแสดงในฉลากด้วย ซึ่งจะมีอุปสรรคทางการค้าในอนาคตได้ สำหรับการปลูกพืช GMOs ในภาคเกษตรจะทำให้มีการเพาะปลูกปะปนกันระหว่างพืช ที่มาจากวิธีทั่วไปและมาจาก GMOs ทำให้ไม่สามารถจะควบคุมกำกับได้ในกรณีเกษตรกรรมของประเทศไทย
THANK YOU
การประชาพิจารณ์ “จุดยืนของสังคมไทยต่อ GMOs” วันที่ 25 สิงหาคม 2544 เวลา 8.30 - 17.00 น. ณ. Impact Arena เมืองทองธานี รายละเอียด 02-6425322-31 ต่อ 125,206