ตอบปัญหาสัปดาห์วิทยาศาสตร์’56
3. นิวเคลียส + อิเล็กตรอน 4. นิวตรอน + โปรตอน 1. ข้อใดหมายถึงนิวคลีออน (Nucleon) 1. อิเล็กตรอน + โปรตอน 2. นิวตรอน + อิเล็กตรอน 3. นิวเคลียส + อิเล็กตรอน 4. นิวตรอน + โปรตอน
ตอบ ข้อ 4 นิวตรอน + โปรตอน
1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยงเบน 2. “สึนามิ” เกิดจากปรากฎการณ์ในสมบัติข้อใดของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยงเบน
ตอบ ข้อ 2 การหักเหของคลื่น
3. การเปลี่ยนธาตุ(Nuclear Transmutation) ด้วยปฏิกิริยาแบบ(α, n) ของสมการนิวเคลียร์ดังต่อไปนี้ อยากทราบว่าธาตุ X นี้มีจำนวนนิวตรอนกี่ตัว 4Be9 + α → X + n 1. 5 ตัว 2. 6 ตัว 3. 7 ตัว 4. 8 ตัว
ตอบ ข้อ 2 ธาตุนี้คือธาตุคาร์บอน-12 มีจำนวนนิวตรอน 6 ตัว A – Z = n 12 – 6 = 6
4. แถบชิปแม่เหล็กขนาด 4.096 จิกกะไบต์ เทียบเท่ากับแฟลชไดรฟ์ขนาด 512 เมกกะไบต์กี่อัน 1. 2 อัน 2. 4 อัน 3. 6 อัน 4. 8 อัน
ตอบ ข้อ 4 8 อัน
5. เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา ได้เกิดน้ำท่วมสูง 2 เมตรในค่ายสุรนารี จ.นครราชสีมา กรมอุตุนิยมวิทยาได้รายงานว่า “วัดปริมาณน้ำฝนที่ตกได้ 120 มิลลิเมตร” อยากทราบว่า ปริมาณน้ำฝน 120 มิลลิเมตร คิดเป็นกี่เซนติเมตร 1. 1.2 เซนติเมตร 2. 6 เซนติเมตร 3. 7 เซนติเมตร 4. 12 เซนติเมตร
ตอบ ข้อ 4 12 เซนติเมตร
6. เมื่อกรอกน้ำใส่ขวด ขณะระดับน้ำสูงขึ้น ระดับเสียงที่ได้ยินจะสูงขึ้น ทั้งนี้เป็นเพราะ 1. ระยะห่างจากผิวน้ำถึงหูสั้นลง 2. น้ำในขวดมีปริมาณมากขึ้น 3. ลำอากาศในขวดสั้นลง 4. ผนังขวดภายในสั่นแรงขึ้น
ตอบ ข้อ 3 ลำอากาศในขวดสั้นลง
กระบอกฉีดยา ระยะห่างระหว่างตำแหน่งผิวน้ำที่เกิดเสียงดังครั้งแรกกับครั้งถัดไป = λ/2
7. น้ำมันที่ลอยอยู่บนผิวน้ำ จะมองเห็นมีสีต่างๆ เนื่องจากเกิดปรากฎการณ์ใดของแสง 1. การะสะท้อนและการหักเห 2. การะสะท้อนและการเลี้ยวเบน 3. การเลี้ยวเบนและการแทรกสอด 4. การะสะท้อนและโพลาไรซ์เซชัน
ตอบ ข้อ 1 การะสะท้อนและการหักเห
8. ถนนราบโค้ง มีรัศมีความโค้ง 100 เมตร ถ้า ส. ป. ส 8. ถนนราบโค้ง มีรัศมีความโค้ง 100 เมตร ถ้า ส.ป.ส.ความเสียดทานระหว่างยางกับถนนของรถคันหนึ่งมีค่าเท่ากับ 0.4 รถคันนี้จะเลี้ยวโค้งได้ด้วยความเร็วสูงสุด(กิโลเมตรต่อชั่วโมง)เท่าใด จึงจะไม่ไถลออกนอกโค้ง 1. 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2. 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 3. 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 4. 52 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ตอบ ข้อ 2 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
9. วันที่ 21 – 22 ธันวาคม ปี 2012 ที่ผ่านมา เป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์ คือ 1. เป็นวันสิ้นโลกตามปฏิทินชาวมายา 2. เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ทำมุมฉากกับผิวโลกบนเส้นรุ้ง(Latitude)ที่ 23.5 องศาใต้ 3. เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ทำมุมฉากกับผิวโลกบนเส้นรุ้ง(Latitude)ที่ 23.5 องศาเหนือ 4. เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ทำมุมฉากกับผิวโลกบนเส้นแวง(Longitude)ที่ 23.5 องศาใต้
ตอบ ข้อ 2 เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ทำมุมฉากกับผิวโลกบนเส้นรุ้ง(Latitude)ที่ 23.5 องศาใต้
วสันตวิษุวัต ครีษมายัน เหมายัน ศาทรวิษุวัต
ปรากฏการณ์สำคัญทางดาราศาสตร์ 4 ครั้ง (3 ตำแหน่ง) Vernal equinox 21 March Summer solstice 21-22 June Autumnal equinox 23 September Winter solstice 21-22 December North Due East South
Vernal equinox 21 March แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลกที่ เส้นศูนย์สูตร (Equator) ฤดูใบไม้ผลิ
Summer solstice แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลก ที่เส้น Tropic of Cancer เส้นรุ้ง 23.5 องศาเหนือ (Latitude 23.5 North) มุมฉาก ฤดูร้อน
Autumnal equinox 23 September แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลกที่ เส้นศูนย์สูตร (Equator)
Winter solstice แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับผิวโลก ที่เส้น Tropic of Capricorn เส้นรุ้ง 23.5 องศาใต้ (Latitude 23.5 South)
Cristmas ที่ซีกโลกเหนือ Cristmas ที่ซีกโลกใต้ Winter Solstice 24 Dec Cristmas ที่ซีกโลกใต้ Summer Solstice 24 Dec
เกี่ยวข้องกับปฏิทินวันสิ้นโลกของเผ่ามายา อย่างไร ? คำถามต่อไปว่า เกี่ยวข้องกับปฏิทินวันสิ้นโลกของเผ่ามายา อย่างไร ?
The 3 Windows of Machu Picchu, Peru Pre-inca Astronomical Temple
ปรากฏการณ์สำคัญทางดาราศาสตร์ 4 ครั้ง (3 ตำแหน่ง) Vernal equinox 21 March Summer solstice 21-22 June Autumnal equinox 23 September Winter solstice 21-22 December North Due East South
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน 6. ตารางต่อไปนี้เป็นผลการทดสอบเกี่ยวกับสาร 3 ชนิด สารที่ใช้ทดสอบ ผลที่สังเกตได้ สาร A สาร B สาร C สารละลาย C ต้มกับกรด สารละลาย CuSO4 ในเบส สารละลายเบเนดิกต์ สารละลายไอโอดีน ไม่เปลี่ยนสี เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน ตะกอนสีแดง สาร A, B และ C ควรเป็นสารใดตามลำดับ 1. แป้ง โปรตีน น้ำตาลทราย 2. น้ำตาลทราย แป้ง โปรตีน 3. โปรตีน แป้ง น้ำตาลทราย 4. แป้ง น้ำตาลทราย โปรตีน
ตอบ ข้อ 1. แป้ง โปรตีน น้ำตาลทราย
7. แถบชิปแม่เหล็กขนาด 4.096 จิกกะไบต์ เทียบเท่ากับแฟลชไดรฟ์ขนาด 512 เมกกะไบต์กี่อัน 1. 2 อัน 2. 4 อัน 3. 6 อัน 4. 8 อัน
ตอบ ข้อ 4 8 อัน 4.096 GB = (X) 512 MB 4.096 x 103 MB = (X) 512 MB ตอบ ข้อ 4 8 อัน 4.096 GB = (X) 512 MB 4.096 x 103 MB = (X) 512 MB (4096 ÷ 512) = X X = 8
11. ในการวัดความดันเลือดของผู้ป่วย แพทย์นิยมวัดจากเส้นเลือดใด 1. เส้นเลือดดำที่ต้นแขน 2. เส้นเลือดแดงที่ต้นแขน 3. เส้นเลือดดำที่ปลายแขน 4. เส้นเลือดแดงที่ปลายแขน
ตอบ ข้อ 2 เส้นเลือดแดงที่ต้นแขน ตอบ ข้อ 2 เส้นเลือดแดงที่ต้นแขน เหตุผล การวัดความดันเลือด นิยมวัดจากเส้นเลือดแดงที่ต้นแขน เพราะสะดวกในการวัดและมีแรงดันสูง
12. ในการที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาการหมัก สิ่งที่จำเป็นจะต้องมีคืออะไร
ตอบ ยีสต์ และน้ำตาล
13. น้ำมันที่ลอยอยู่บนผิวน้ำ จะมองเห็นมีสีต่างๆ เนื่องจากเกิดปรากฎการณ์ใดของแสง 1. การะสะท้อนและการหักเห 2. การะสะท้อนและการเลี้ยวเบน 3. การเลี้ยวเบนและการแทรกสอด 4. การะสะท้อนและโพลาไรซ์เซชัน
ตอบ ข้อ 1 การะสะท้อนและการหักเห
14. สิ่งมีชีวิตที่เป็น species เดียวกันควรมีลักษณะตามข้อใด 1. มีลักษณะต่าง ๆ เหมือนกัน 2. ให้กำเนิดลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน 3. ผสมพันธุ์แล้วให้กำเนิดลูกหลานได้ 4. มีลักษณะทางสรีระวิทยาเหมือนกัน
ตอบ ข้อ 2 ให้กำเนิดลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน ตอบ ข้อ 2 ให้กำเนิดลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน เหตุผล สิ่งมีชีวิตที่เป็น species เดียวกันเมื่อผสมพันธุ์กันแล้วต้องให้กำเนิดลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน
2. โพรโทซัวที่อาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของปลวกจะสร้างเซลลูเลส ออกมาย่อยเซลลูโลสให้เป็นกลูโคสเพื่อใช้เป็นอาหารของโพรโทซัวและปลวกได้ แสดงว่าปลวกและโพรโทซัวมีความสัมพันธ์กันในลักษณะใด 1. ภาวะปรสิต 2. ภาวะอิงอาศัย 3. ภาวะพึ่งพากัน 4. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน
ตอบ ข้อ 3 ภาวะพึ่งพากัน เหตุผล ปลวกและโพรโทซัวมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะพึ่งพากัน ซึ่งต่างได้รับประโยชน์ร่วมกันทั้ง 2 ฝ่ายและมักอยู่ร่วมกันตลอดเวลา ถ้าแยกสิ่งมีชีวิตนี้ออกจากกันจะทำให้สิ่งมีชีวิตนั้นดำรงชีวิตไม่ได้ หรือได้แต่ไม่ดีเท่าที่ควร
2. ปรากฏการณ์ใดไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต 1. การไขว้กันของโครโมโซม 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 3. การเกิดมิวเทชันของเซลล์ร่างกาย 4. การรวมกันเป็นกลุ่มใหม่ของยีน
ตอบ ข้อ 3 การเกิดมิวเทชันของเซลล์ร่างกาย เหตุผล การเกิดมิวเทชันของเซลล์ร่างกายไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เพราะไม่มีการถ่ายทอดลักษณะมิวเทชันนั้นไปยังรุ่นลูกหลาน
3. แก๊สปิโตรเลียมเหลว หรือ LPG ประกอบด้วยแก๊สชนิดใด
ตอบ โพรเพน บิวเทน
14. เพราะเหตุใดในวันที่อากาศร้อนและชื้นจึงทำให้เรารู้สึกอึดอัดกว่าปกติ 1. เหงื่อออกมากและระเหยได้น้อยกว่าปกติ 2. เหงื่อออกมากและระเหยได้อย่างรวดเร็ว 3. เหงื่อออกน้อยและระเหยได้น้อยกว่าปกติ 4. เหงื่อออกน้อยและระเหยได้อย่างรวดเร็ว
ตอบ ข้อ 1 เหงื่อออกมากและระเหยได้น้อยกว่าปกติ เหตุผล ในวันที่อากาศร้อนและชื้นจะทำให้เราเหงื่อออกมากและระเหยได้ช้ากว่าปกติ จึงทำให้รู้สึกอึดอัดและอบอ้าว
2. การสะสมของสารพิษในสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ เพราะพวกมันกินอาหาร ปริมาณมาก 8. ยาฆ่าแมลงอินทรีย์ถูกคิดค้นขึ้นในทศวรรษ 1940 ประสิทธิภาพของมันต่อการต้านทานโรคทำให้คนในยุคนั้นทึ่ง อย่างไรก็ตามหลังจากช่วงเวลาหนึ่ง การคงอยู่ของยาฆ่าแมลงในสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการตายของนกจำนวนมาก โดยที่นกเหล่านั้นไม่ได้สัมผัสกับยาฆ่าแมลงโดยตรง ความจริงดังกล่าวสัมพันธ์กับแนวคิดทางนิเวศวิทยาเรื่อง Trophic magnification ซึ่งหมายถึง ... 1. การสลายของห่วงโซ่อาหาร 2. การสะสมของสารพิษในสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ เพราะพวกมันกินอาหาร ปริมาณมาก 3. การเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ ของสารพิษในแต่ละลำดับการกินในห่วงโซ่ อาหาร 4. สัตว์ที่อยู่ในลำดับการกินที่ต่ำจะมีความต้านทานต่อสารพิษสูงกว่าสัตว์ ที่อยู่ในลำดับการกินที่สูงขึ้น
เฉลย ตอบข้อ 3 Trophic magnification หมายถึง การสะสมสารพิษในห่วงโซ่อาหาร ยิ่งผู้บริโภคลำดับสูงขึ้นไปจะมีการสะสมสารพิษในเนื้อเยื่อมากขึ้นตามลำดับของโซ่อาหาร
12. จากภาพที่นักเรียนเห็น สัตว์ชนิดนี้มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่าอย่างไร 1. Varanus salvator 2. Voranut salvater 3. Waranus salvator 4. Wooranut salvather
ตอบ ข้อ 1 ตัวเหี้ย มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Varanus salvator (Laurenti, 1768) (อ่านว่า วารานุส ซัลวาตอร์ หรือ วารานัส ซัลวาตอร์) สกุล Varanus, วงศ์ Varanidae คำว่า Varanus มาจากภาษาอียิปต์ คือ วาราน แปลว่า สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ ชื่อที่ชาวบ้านเรียกขานกันอย่างอื่นก็มียกตัวอย่างเช่น ตัวเงินตัวทอง มังกรทอง
3. เกิดจากการติดเชื้อราแมลงบางชนิดในดิน 16. จากภาพเป็น ว่านจักจั่น สาเหตุของการเกิดว่านจักจั่นคือข้อใด 1. เกิดจากการที่พืชมีการคายน้ำเลี้ยงจากปลายรากเข้าสู่ตัวจักจั่นในขณะที่เป็นตัวอ่อน 2. เกิดจากแร่ธาตุหรือสารเคมีในดินที่มีการแพร่เข้าสู่ตัวจักจั่นเมื่อจักจั่นตายลง 3. เกิดจากการติดเชื้อราแมลงบางชนิดในดิน 4. ไม่ได้เกิดขึ้นจากสาเหตุอื่นใด แต่หากเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีลักษณะของหัวคล้ายแมลงเท่านั้น
ตอบ ข้อ 3 ดร.สายันต์ สมฤทธิ์ผล นักวิจัยเกี่ยวกับ ราวิทยา จากศูนย์ไปโอเทค ของ สวทช. ได้อธิบายว่า เป็นจักจั่นที่ตายจากการติดเชื้อรา (เบื้องต้นพบว่าเป็นราที่อยู่ในตระกูล คอร์ไดเซพ Cordyceps. sp.) ซึ่งเป็นตัวอ่อนในช่วงที่กำลังจะขึ้นมาลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยบนพื้นดิน ซึ่งในระยะลอกคราบนี้ร่างกายจะอ่อนแอ เมื่อเจอกับฝนตก และอากาศชื้น จึงมีโอกาสติดเชื้อราแมลงที่มีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติได้ง่าย ซึ่งเชื้อรานี้จะดูดกินของเหลวในตัวอ่อนของจักจั่นไปเรื่อยๆ จนกระทั่งตาย ส่วนเชื้อราก็ยังคงเจริญเติบโตต่อไป จนเห็นเป็นกิ่งก้านแทงออกมาจากตัวอ่อนจักจั่น ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นพืช