งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มนต์เสน่ห์ เล็กๆ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มนต์เสน่ห์ เล็กๆ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มนต์เสน่ห์ เล็กๆ

2 สารบัญ หน้า หน้า ตราแผ่นดินประเทศสิงคโปร์ 18-19
ตราแผ่นดินประเทศสิงคโปร์ ประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์ คำขวัญประเทศสิงคโปร์ ภูมิศาสตร์ประเทศสิงคโปร์ เพลงชาติประเทศสิงคโปร์ ชื่อทางการประเทศสิงคโปร์ เมืองหลวงประเทศสิงคโปร์ สัตว์ประจำชาติประเทศสิงคโปร์ ธงประเทศสิงคโปร์ ดอกไม้ประจำชาติสิงคโปร์

3 สารบัญ หน้า หน้า สกุลเงินประจำชาติสิงคโปร์ 29
สกุลเงินประจำชาติสิงคโปร์ เศรษฐกิจประเทศสิงคโปร์ อาหารประจำชาติสิงคโปร์ การท่องเที่ยวประเทศสิงคโปร์ ประชากรประเทศสิงคโปร์ วัฒนธรรมของสิงคโปร์ ภาษาในประเทศสิงคโปร์ เทศกาลประเทศสิงคโปร์ การเมืองการปกครองในสิงคโปร์ 34 คำกล่าวทักทายประเทศสิงคโปร์

4 ประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
1 2 ประวัติศาสตร์ประเทศสิงคโปร์ ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้มีเจ้าผู้ครองนครปาเล็มบังเดินทางแสวงหาดินแดนใหม่เพื่อสร้างเมือง แต่เรือก็อับปางลง พระองค์ได้ว่ายน้ำขึ้นฝั่ง แล้วก็เห็นสัตว์ชนิดหนึ่งมีรูปร่างลำตัวสีแดงหัวดำหัวคล้ายสิงโตหน้าอกขาว พระองค์จึงถามคนติดตามว่า สัตว์ตัวนั้นคืออะไรคนติดตามก็ตอบว่ามันคือ สิงโต พระองค์จึงเปลี่ยนชื่อเทมาเส็กเสียใหม่ว่า สิงหปุระ ต่อมาสิงหปุระก็ได้ตกเป็นของสุลต่านแห่งมะละก้า ช่วงต้น ประวัติศาสตร์ของสิงคโปร์ก่อนศตวรรษที่ 14 มิได้ถูกบันทึกอย่างชัดเจนและแน่นอนนัก ในช่วงศตวรรษที่ 14 สิงคโปร์อยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรมัชฌาปาหิตต แห่งชวา ต่อมาในต้นศตวรรษที่ 15 ก็อยู่ภายใต้การยึดครองของอาณาจักรสยาม จนถูกประมุขแห่งมะละกาเข้ามาแย่งชิงไป และเมื่อโปรตุเกสเข้ายึดครองมะละกา สิงคโปร์ก็กลายเป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกสในราวปี ค.ศ. 1498 และต่อมาอยู่ภายใต้อิทธิพลของฮอลันดาในช่วงศตวรรษที่ 17 สิงคโปร์เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ปลายสุดแหลมมาลายู เป็นสถานพักสินค้าของพ่อค้าทั่วโลก เดิมชื่อว่า เทมาเส็ก (ทูมาสิค) มีกษัตริย์ปกครอง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้มีเจ้าผู้ครองนครปาเล็มบังเดินทางแสวงหาดินแดนใหม่เพื่อสร้างเมือง

5 ยุคแห่งการล่าอาณานิคม
3 ต่อมาในปี ค.ศ. 1826 สิงคโปร์ถูกปกครองภายใต้ระบบสเตรตส์เซตเทิลเมนต์ (Straits Settlement) ซึ่งบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษควบคุมดูแลสิงคโปร์ รวมทั้งปีนังและมะละกาด้วย ต่อมาในปี ค.ศ. 1857 รัฐบาลอังกฤษได้เข้ามาดูแลระบบนี้เอง ในปี ค.ศ. 1867 สิงคโปร์กลายเป็นอาณานิคม (Crown Colony) อย่างสมบูรณ์จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งทีสอง ญี่ปุ่นจึงได้ขับไล่อังกฤษออกจากสิงคโปร์และเข้าไปยึดครองแทน 4 ยุคแห่งการล่าอาณานิคม ประเทศแรกที่มายึดสิงคโปร์ไว้ได้คือโปรตุเกส เมื่อปี ค.ศ. 1511 แล้วก็ถูกชาวดัตช์มาแย่งไป เมื่ออังกฤษขยายอิทธิพลเข้ามาบริเวณแหลมมลายูในกลางศตวรรษที่ 18 แต่ประมาณปี ค.ศ. 1817 อังกฤษได้แข่งขันกับดัตช์ในเรื่องอาณานิคม อังกฤษได้ส่งเซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ มาสำรวจดินแดนแถบสิงคโปร์ ตอนนั้นสิงคโปร์ยังมีสุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์ปกครองอยู่ แรฟเฟิลส์ได้ตกลงกับสุลต่านฮุสเซียน ชาห์ว่า จะตั้งสถานีการค้าของอังกฤษที่นี่ แต่สุดท้ายอังกฤษยึดสิงคโปร์ไว้เป็นเมืองขึ้นได้และก่อตั้งประเทศในปี ค.ศ โดยอังกฤษได้ขอเช่าเกาะสิงคโปร์จากจักรวรรดิ์ยะโฮร์ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของฮอลันดา ในปี ค.ศ.1824 อังกฤษมีสิทธิครอบครองสิงคโปร์ตามข้อตกลงที่ทำกับฮอลันดา

6 การรวมชาติเข้ากับมาเลเซีย
5 6 อาณานิคมแบบเอกเทศ ทำให้พรรคกิจประชาชนของสิงคโปร์ประกาศให้สิงคโปร์เป็นเอกราชตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ตั้งแต่บัดนั้นมาในชื่อ สาธารณรัฐสิงคโปร์ เมื่อแยกตัวออกมาแล้วพรรคกิจประชาชนก็ครองประเทศมาตลอดจนถึงทุกวันนี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 สิงคโปร์ถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นเอาชนะและยึดพื้นที่ตั้งแต่ ค.ศ ถึง 1945 เมื่อสงครามสิ้นสุด สิงคโปร์ตกอยู่ในการควบคุมของชาวอังกฤษ โดยมีการยกระดับรัฐบาลปกครองตนเอง ส่งผลให้สิงคโปร์ผนวกเข้ากับสหพันธรัฐมาลายา ก่อตั้งเป็นประเทศมาเลเซียใน ค.ศ อย่างไรก็ตาม ความไม่สงบและข้อพิพาททางสังคมระหว่างพรรคกิจประชาชนของสิงคโปร์ และพรรคแนวร่วมแห่งชาติของมาเลเซีย ทำให้สิงคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซียได้ สิงคโปร์กลายเป็นสาธารณรัฐอิสระในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ค.ศ จึงได้รับการยกฐานะให้เป็นอาณานิคมแบบเอกเทศ (Separate Crown colony) เมื่ออังกฤษกลับมาควบคุมสิงคโปร์อีกครั้งหนึ่ง ภายหลังจากที่สิงคโปร์อยู่ภายใต้การยึดครองของญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ ) การรวมชาติเข้ากับมาเลเซีย เมื่อสิงคโปร์เห็นมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์จึงรีบขอรวมชาติเข้ากับมลายูกลายเป็นสหภาพมลายาทันที เพื่อจะได้ไม่เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษอีก แต่สิงคโปร์ก็ไม่พอใจกับมาเลเซียมากนักเพราะมีการเหยียดชนชาติกัน

7 ภูมิศาสตร์ประเทศสิงคโปร์
7 8 หลังจากประสบวิกฤติประชาชนว่างงานและขาดที่อยู่อาศัย ประเทศสิงคโปร์เริ่มโครงการทำให้ทันสมัยในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 ถึง 1970 มุ่งเน้นการสถาปนาอุตสาหกรรมการผลิต พัฒนาที่ดิน และลงทุนด้านการศึกษาอย่างเข้มข้น ตั้งแต่เป็นอิสระ เศรษฐกิจของประเทศสิงคโปร์เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 9 ต่อปี จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1990 ประเทศกลายเป็นหนึ่งในชาติที่รุ่งเรืองที่สุด เนื่องจากมีเศรษฐกิจการค้าเสรีที่พัฒนาขึ้นอย่างมาก การค้าขายกับต่างประเทศที่แข็งแกร่ง และดัชนีมวลรวมสูงที่สุดในเอเชีย หากไม่นับประเทศญี่ปุ่น ภูมิศาสตร์ประเทศสิงคโปร์

8 ภูมิประเทศและภูมอากาศ
9 10 ภูมิศาสตร์ ภูมิประเทศและภูมอากาศ ภาคกลางและภาคตะวันตกเป็นเนินเขา ซึ่งเนินเขาทางภาคกลางเป็นเนินเขาที่สูงที่สุดของประเทศ เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของสิงคโปร์ และภาคตะวันออกเป็นที่ราบต่ำ ชายฝั่งทะเลมักจะต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ต้องมีการถมทะเล สิงคโปร์เป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก ตั้งอยู่บริเวณละติจูด 1 องศา 17' 35'' เหนือ และลองติจูด 103 องศา 51' 20'' ตะวันออก ทิศเหนือจรดช่องแคบยะโฮร์ เหนือขึ้นไปคือมาเลเซีย ทิศตะวันออกจรดทะเลจีนใต้         ทิศตะวันตกและทิศใต้จรดช่องแคบมะละกา ไกลออกไปคืออินโดนีเซีย  สิงคโปร์อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 1,380 กิโลเมตร  ใช้เวลาเดินทางโดยเครื่องบินราว 2 ชั่วโมง

9 11 12 สิงคโปร์ มีพื้นที่รวม ตารางกิโลเมตร ซึ่งเทียบเท่ากับภูเก็ตของไทย ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์ และเกาะใหญ่น้อยบริเวณรายรอบ รวม 63 เกาะ  เกาะใหญ่ที่สุด คือ เกาะ Singapore มีระยะทางจากทิศตะวันตกถึงตะวันออกประมาณ 42 กิโลเมตร และทิศเหนือถึงทิศใต้ประมาณ 23 กิโลเมตร รองลงมา ได้แก่  เกาะ Jurong  เกาะ Pulau-tekong  เกาะ Pulau-ubin และ เกาะ Sentosa  ด้านสภาพภูมิอากาศ สิงคโปร์อยู่ในเขตมรสุมทำให้มีอากาศอบอุ่นเกือบตลอดปี  มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 25 องศา- 32 องศา เซลเซียส  แบ่งเป็น 4 ฤดู คือ 1.ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (North-east Monsoon Season)  ระหว่างเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงอากาศหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 23 องศาเซลเซียส- 26 องศาเซลเซียส  โดยอากาศจะเย็นที่สุดในเดือนธันวาคม มีอุณหภูมิต่ำสุดประมาณ 20 องศา เซลเซียส  ช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์จะมีฝนหนักและลมแรงจากอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ 2.ฤดูก่อนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (Pre South-west Monsoon)  ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม เป็นช่วงอากาศร้อน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 31 องศาเซลเซียส- 34 องศาเซลเซียส  อากาศจะร้อนที่สุดในเดือนพฤษภาคม มีอุณหภูมิสูงสุดราว 36 องศาเซลเซียส

10 ชื่อทางการประเทศสิงคโปร์
13 14 ชื่อทางการประเทศสิงคโปร์ 3.ฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (South-west Monsoon Season)  ระหว่างเดือนมิถุนายน-กันยายน มีฝนตกหนักและลมแรงจากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 4.ฤดูก่อนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Pre North-east Monsoon)  ระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม เป็นช่วงที่มีอากาศอบอุ่น  และไม่มีฝนมากนัก ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า  สาธารณรัฐสิงคโปร์ 

11 ธงชาติประเทศสิงคโปร์
15 16 ธงชาติประเทศสิงคโปร์ มีรูปดาวห้าแฉก 5 ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า รูปเหล่านี้เป็นสีขาว ธงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2502 ซึ่งเป็นปีที่สิงค์โปร์ได้สิทธิปกครองตนเองจากจักรวรรดิอังกฤษ และถือเป็นธงชาติของรัฐเอกราชเมื่อสิงคโปร์ประกาศเอกราชในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1695) ธงชาติสิงคโปร์ เป็นธง สี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าว

12 ความหมายสำคัญขององค์ประกอบในธง
17 18 ตราแผ่นดินประเทศสิงคโปร์ ความหมายสำคัญขององค์ประกอบในธง ความหมายสำคัญขององค์ประกอบต่างๆ ในธง อันได้แก่ สีแดง หมายถึงภราดรภาพและความเสมอภาคของมนุษย์โดยทั่วหน้า สีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์และความดีงามที่แพร่หลายและคงอยู่ตลอดกาล รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งเป็นจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น หมายถึงความเป็นชาติใหม่ที่ถือกำเนิดขึ้น ดาว 5 ดวง หมายถึงอุดมคติ 5 ประการของชาติ ได้แก่ ประชาธิปไตย สันติภาพ ความก้าวหน้า ความยุติธรรม และความเสมอภาค  ตราแผ่นดินของสิงคโปร์ ประกาศใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ พร้อมกันกับธงชาติ และ เพลงชาติ ณ ห้องสาบานตนประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ ที่ ศาลาว่าการของเมืองสิงคโปร์ 

13 Majulah Singapura "สิงคโปร์จงรุดหน้า"
19 20 คำขวัญประเทศสิงคโปร์. ลักษณะของตราแผ่นดิน เป็นรูปสิงโตและเสือถือโล่สีแดงซึ่งมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 5 ดวง และพระจันทร์เสี้ยวสีขาวซึ่งเป็นสัญลักษณ์ สำคัญที่ใช้บนธงชาติของสิงคโปร์ เสือเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความผูกพันทางประวัติศาสตร์กับประเทศมาเลเชีย และสิงโตเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงสิงคโปร์ ด้านล่างของตราแผ่นดินเป็นริบบิ้นสีน้ำเงินจารึกคำขัวญประจำชาติด้วยตัวหนังสือที่ทองว่า ข้างใต้มีคำขวัญ "Majulah singapura:" ซึ่งมีความหมายว่า "สิงคโปร์จงเจริญ"  Majulah Singapura  "สิงคโปร์จงรุดหน้า"

14 เพลงชาติประเทศสิงคโปร์
21 22 เพลงชาติประเทศสิงคโปร์ เนื้อร้อง  มีชื่อเฉพาะว่า มาจูละห์ ซีงาปูรา (Majulah Singapura) เป็นคำภาษามลายู แปลว่า สิงคโปร์จงรุดหน้า หรือจงเจริญ ชื่อของเพลงนี้มีที่มาจากคำขวัญประจำชาติ ซึ่งเป็นข้อความเดียวกันกับที่ปรากฏอยู่ในตราประจำรัฐ มีเนื้อหาของเพลงที่สะท้อนถึงจิตวิญญาณของชาวสิงคโปร์ในการคาดหวังอย่างอดทนถึงความก้าวหน้าของชาติ และเรียกร้องให้ทุกคนร่วมมือกันทำความหวังดังกล่าวให้เป็นความจริง เนื้อร้อง ซูบีร์ ซาอิด แต่งเมื่อ พ.ศ. 2499 ทำนอง ซูบีร์ ซาอิด แต่งเมื่อ พ.ศ. 2500

15 23 24 บทร้องต้นฉบับ คำแปลเป็นภาษาทางการของสิงคโปร์ (ภาษามลายู)
Mari kita ra'yat Singapura, Bangun dengan bersatu sama-sama. Rukon damai dan bantu membantu, supaya kita sama-sama maju. Kita hidop aman dan sentosa, Kerja sama menuju bahagia! Chita-chita kita yang mulia: Berjaya Singapura! Mari-lah kita bersatu, Dengan semangat yang bahru. Samua kita berseru: MAJULAH SINGAPURA! MAJULAH SINGAPURA! (ภาษาอังกฤษ) ONWARD SINGAPORE Come, fellow Singaporeans Let us progress towards happiness together May our noble aspiration bring Singapore success Come, let us unite In a new spirit Let our voices soar as one Onward Singapore Onward Singapore

16 เมืองหลวงประเทศสิงคโปร์
25 26 (ภาษาจีน) เมืองหลวงประเทศสิงคโปร์ 前进吧,新加坡! 来吧,新加坡人民, 让我们共同向幸福迈进; 我们崇高的理想, 要使新加坡成功。 来吧,让我们以新的精神, 团结在一起; 我们齐声欢呼: 前进吧,新加坡! 前进吧,新加! สิงคโปร์ เป็นประเทศเดียวที่ไม่มีเมืองหลวง เนื่องจากเป็นเกาะขนาด 710 ตารางกิโลเมตร จึงบริหารประเทศทั้งหมดเป็นรัฐเดียว มีประชากรราว 5 ล้านคน ก่อตั้งราวคริสตศตวรรษที่ 2 (พุทธศตวรรษที่ 7)

17 สัตว์ประจำชาติสิงคโปร์ ดอกไม้ประจำชาติสิงคโปร์
27 28 สัตว์ประจำชาติสิงคโปร์ ดอกไม้ประจำชาติสิงคโปร์ สิงโต lion ดอกกล้วยไม้แวนด้า

18 สกุลเงินประเทศสิงคโปร์ อาหารปรำจำชาติประเทศสิงคโปร์
29 30 สกุลเงินประเทศสิงคโปร์ อาหารปรำจำชาติประเทศสิงคโปร์ ดอลลาร์สิงคโปร์  ลักซา (Laksa) อาหารขึ้นชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยำใส่กะทิ ทำให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุ้งแห้ง พริก กุ้งต้ม และหอยแครง เหมาะสำหรับคนที่ชอบรับประทานอาหารทะเลเป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม ลักซามีทั้งแบบที่ใส่กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็นที่นิยมมากกว่า 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ เท่ากับ บาท (ข้อมูลเมื่อวันที่ 12 ก.พ. พ.ศ )

19 ประชากรประเทศสิงคโปร์
31 32 ประชากรประเทศสิงคโปร์ ศาสนา เชื้อชาติ  ประเทศสิงคโปร์มีผู้นับถือศาสนา แบ่งได้ดังนี้ ศาสนาพุทธ  ศาสนาคริสต์  ศาสนาอิสลาม  ลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู ศาสนาอื่น และไม่มีศาสนา  สิงค์โปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในภูมิภาค และเป็นประเทศเล็กที่สุดในภูมิภาค เป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 2 ของโลก มีจำนวนประชากรประมาณ 5,543,494 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2013) ประกอบด้วยชาวจีน ชาวมลายู ชาวอินเดีย และอื่น ๆ

20 ภาษาในประเทศสิงคโปร์ การเมืองการปกครองประเทศสิงคโปร์
33 34 ภาษาในประเทศสิงคโปร์ การเมืองการปกครองประเทศสิงคโปร์ เนื่องจากประชากรชาวสิงคโปร์มีหลายเชื้อชาติ  ความหลากหลายทางภาษาจึงมีมากตามไปด้วย  รัฐบาลกำหนดให้ภาษาราชการมี  4  ภาษา  คือ  ภาษาอังกฤษ  จีนกลาง  มลายู  และทมิฬ  โดยมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการติดต่อธุรกิจ  เป็นภาษากลางในการสื่อสารระหว่างคนต่างเชื้อชาติ  และเป็นภาษาหลักที่ใช้ในโรงเรียน  โดยเป็นภาษาแรกที่สอนในโรงเรียนสิงคโปร์ตั้งแต่  พ.ศ. 2530 ประเทศสิงคโปร์เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา รัฐเดี่ยว และใช้ระบบหลายพรรคการเมือง โดยมีการปกครองสภาเดี่ยวระบบเวสต์มินสเตอร์ พรรคกิจประชาชนชนะการเลือกตั้งทุกครั้งนับแต่เริ่มการปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2502 ภาวะครอบงำของพรรคกิจประชาชน ประกอบกับระดับเสรีภาพสื่อต่ำและการปราบปรามเสรีภาพพลเมืองและสิทธิการเมืองนำให้ประเทศสิงคโปร์ถูกจัดเป็นประชาธิปไตยไม่สมบูรณ์ (flawed democracy)

21 เศรษฐกิจประเทศสิงคโปร์
35 36 ประเทศสิงคโปร์เป็นหนึ่งในห้าสมาชิกผู้ก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ยังเป็นที่ตั้งของสำนักเลขาธิการความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) และสมาชิกการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดและเครือจักรภพแห่งประชาชาติ การพัฒนาอย่างรวดเร็วของประเทศสิงคโปร์นำให้มันมีอิทธิพลอย่างสำคัญในกิจการโลก นำให้นักวิเคราะห์บางส่วนระบุว่าเป็นอำนาจปานกลาง (middle power) เศรษฐกิจประเทศสิงคโปร์ การเพาะปลูก ปลูกยางพารา มะพร้าว ผัก ผลไม้ แต่พื้นที่มีจำกัด อาศัยวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน มีอุตสาหกรรมเบา เช่น ผลิตยางพารา ขนมปัง เครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมหนัก เช่น อู่ต่อเรือ ทำเหล็กกล้า ยางรถยนต์ มีกิจการกลั่นน้ำมันซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกาและเป็นผู้สร้างแท่นขุดเจาะน้ำมันรายใหญ่ด้วย การค้าขาย เป็นท่าเรือปลอดภาษี ประเทศต่าง ๆ ส่งสินค้าต่าง ๆ มายังสิงคโปร์เพื่อส่งออก และสิงคโปร์ยังรับสินค้าจากยุโรป สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เพื่อส่งไปขายต่อยังประเทศเพื่อนบ้าน มีท่าเรือน้ำลึก เหมาะในการจอดเรือส่งสินค้า

22 การท่องเที่ยวประเทศสิงคโปร์
37 38 การท่องเที่ยวประเทศสิงคโปร์ สถานการณ์เศรษฐกิจ สิงคโปร์เป็นประเทศที่เล็กที่สุดประเทศหนึ่งในโลก ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติมากเหมือนประเทศอื่น แต่มีฐานะทางเศรษฐกิจดี เพราะสิงคโปร์พัฒนาเศรษฐกิจด้านการค้า โดยเป็นประเทศพ่อค้าคนกลางในการขายสินค้าเป็นท่าเรือขนส่งสินค้าปลอดภาษี ทำให้สินค้าที่ผ่านทางสิงคโปร์มีราคาถูก ปัจจุบันสิงคโปร์มีท่าเรือน้ำลึกขนาดใหญ่ และทันสมัยที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง และยังได้เข้าไปลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะในประเทศไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชาและพม่า สิงคโปร์มีประชากรน้อยจึงต้องพึงพาแรงงานจากต่างชาติในทุกระดับ สิงค์โปร์เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วประเทศเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีฐานะทางเศรษฐกิจและการเงินที่มั่งคั่งที่สุดประเทศหนึงในโลก สถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมักอยู่ในตอนกลาง ได้แก่ พื้นที่บริเวณ Marina Bay, ปากแม่น้ำสิงคโปร์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมอร์ไลออน(Merlion) , อาคารโรงละคร Esplanade ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่, สถานที่ท่องเที่ยวยามค่ำ บริเวณพื้นที่ริมน้ำ ได้แก่ Clarke Quay, Boat Quay, ย่านไชน่าทาวน์ (China Town) , ย่าน Little India, ย่านชอปปิ้ง บนถนน Orchard ส่วนบริเวณเมืองรอบนอกนั้นมีแหล่งท่องเที่ยวกระจายอยู่โดยรอบ สามารถเข้าถึงได้โดยรถไฟ MRT และ รถประจำทาง ได้แก่ เกาะเซนโตซา (Sentosa Island) บริเวณ Harbour Front, สวนสัตว์กลางคืน (Night Safari) , สวนนกจูร่ง (Jurong Birdpark) เป็นต้น

23 เทศกาลสำคัญของประเทศสิงคโปร์
39 40 วัฒนธรรมของสิงคโปร์ เทศกาลสำคัญของประเทศสิงคโปร์  ประชากรสิงคโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อีกทั้งส่วนใหญ่ยังยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติดั้งเดิม  ทำให้สิงคโปร์มีวัฒนธรรมหลากหลาย ทั้งทางด้านอาหาร การแต่งกาย ตลอดจนการเซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ และความเชื่อในเรื่องเทพเจ้าที่แตกต่างกันไป ชาวจีนส่วนมากบูชาเจ้าแม่กวนอิมธิดาแห่งความสุข กวนอูเทพเจ้าแห่งความยุติธรรม รวมถึงเทพเจ้าจีนองค์อื่นๆ  ขณะที่ชาวฮินดูบูชาเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ เป็นต้น ส่วนมากมีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนา    เริ่มตั้งแต่ –  เทศกาลตรุษจีน (Chinese New Year) ในเดือนกุมภาพันธ์ ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะจัดงานเซ่นไหว้เทพเจ้าและงานรื่นเริงสนุกสนานอื่นๆ  โดยรัฐบาล ห้างร้าน และบริษัทต่างๆ จะหยุดทำการเป็นเวลา 2 วัน  แต่บางแห่งอาจหยุดนานถึง 15 วัน  โดยจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ที่ไซน่าทาวน์   มีทั้งขบวนแห่งมังกร  การแสดงดอกไม้ไฟ  และการแสดงแสงสีเสียงต่างๆ

24 คำกล่าวทักทายของประเทศสิงคโปร์ สวัสดี หนี ห่าว ขอบคุณ ซี่ยย เซี่ย
41 42 คำกล่าวทักทายของประเทศสิงคโปร์ ขนบธรรมเนียมปฏิบัติของชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีน  คือ  คืนก่อนวันตรุษจีน  แต่ละครอบครัวจะกลับมากินข้าวเย็นกันพร้อมหน้าพร้อมตา  เมื่อทานกันอิ่มแล้ว  พ่อแม่ หรือญาติผู้ใหญ่ก็จะมีการแจกเงิน (อั่งเปา)  ให้ลูกหลานที่ยังไม่ได้แต่งงาน  เพื่อความเป็นสิริมงคลรับปีใหม่   คล้ายกับคนไทยเชื้อสายจีน สวัสดี หนี ห่าว ขอบคุณ ซี่ยย เซี่ย สบายดีไหม ยินดีที่ได้รู้จัก เหิ่น เกา ซิ่ง เริ่น ชื่อ หนี่

25 PROVIDER Name: Kedsaraporn Hoikaew No : M.2/9

26

27

28

29

30

31


ดาวน์โหลด ppt มนต์เสน่ห์ เล็กๆ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google