โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
RMC2005.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
CQI เรื่อง กระดาษบอกสิทธิ์.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
Medication Management System การพัฒนาระบบยาโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
วาระการประชุมร่วมกับรพ.สต. (งานเภสัชกรรม)
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
แนวปฏิบัติการคืนยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
รายงานสถานการณ์E-claim
4.2 การจัดบริการในสถานบริการ
ศูนย์รับเรื่องราวร้องเรียน รพ.บางไทร
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
การบริหารเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ทีมนำด้านระบบยา

การนำองค์กร

การนำองค์กร

กำหนดนโยบายการบริหารจัดการด้านยา 4 ประการ ทีมนำด้านระบบยา กำหนดนโยบายการบริหารจัดการด้านยา 4 ประการ - จัดทำบัญชียาที่เหมาะสม การจัดหา การสำรองยา การเก็บรักษายาและกำหนดเกณฑ์การใช้ยาที่ชัดเจน - พัฒนาการให้บริการด้านยาและการดูแลการใช้ยา - ส่งเสริมให้มีระบบจัดการความเหมาะสมในการใช้ยา - ส่งเสริมให้มีระบบจัดการความปลอดภัยด้านยา

ทีมนำด้านระบบยา ภาพรวมระบบยา การคัดเลือกและจัดหายา การสั่งใช้ยา คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด ทำหน้าที่กำหนดบัญชียาและส่งเสริมให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปัจจุบันปี 2561 ได้ปรับเปลี่ยนให้มีเพียงคณะกรรมการระบบยา เพียง 1ชุดทำหน้าที่พัฒนาระบบยา การคัดเลือกและจัดหายา การสั่งใช้ยา คณะกรรมการพัฒนาระบบยา ทำหน้าที่วางระบบยาให้เกิดความปลอดภัย ป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา การเตรียมยาและการจ่ายยา การบริหารยา การติดตามการใช้ยา

ทีมนำด้านระบบยา แนวคิดการทำงาน : งานได้ผล คนมีสุข

ความสำเร็จของการพัฒนาระบบยา ทีมนำด้านระบบยา ความสำเร็จของการพัฒนาระบบยา Policy maker Policy monitoring Learning

ทีมนำด้านระบบยา การพัฒนาในรอบปีที่ผ่านมา

การคัดเลือกยา และการจัดหา ความสำเร็จของการพัฒนาระบบยา เพื่อให้ได้ยาที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน Purpose อัตรายาได้คุณภาพตามเกณฑ์ 100 % - คัดเลือกยาตามเกณฑ์ - นโยบาย LASA - ตรวจรับยาและตรวจสอบใบวิเคราะห์ยา Process อัตรายามีคุณภาพตามเกณฑ์ 100% อัตราส่วน ED: NED 85 : 15 (โอกาสพัฒนา จัดซื้อจัดหายาร่วมในระดับจังหวัด/เขต) Performance

ทีมนำด้านระบบยา ผลลัพธ์การดำเนินการ ตัวชี้วัด ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 เป้าหมาย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 มิ.ย.ปี 2561 1.อัตราการเกิด Pre-dispensing error ผู้ป่วยนอกต่อ 1,000 ใบสั่งยามียา <5 6.75 7.42 6.2 5.69 2.อัตราการเกิด Dispensing error ผู้ป่วยนอกต่อ 1,000 ใบสั่งยามียา 0.36 0.43 0.91 0.24 3.อัตราการเกิด Pre-dispensing error ผู้ป่วยในต่อ 1,000 วันนอน 3.21 2.98 13 2.18 4.อัตราการเกิด Dispensing error ผู้ป่วยในต่อ 1,000 วันนอน 0.32 0.31 1.98 5.05 5.จำนวนครั้งของการจ่ายยาที่ผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ 1 6.จำนวนครั้งของ ADR ระดับ D-I

ทีมนำด้านระบบยา สถานการณ์ด้านระบบยา

ทีมนำด้านระบบยา สถานการณ์ด้านระบบยา

การบริหารยา(administration error) ทีมนำด้านระบบยา ความคลาดเคลื่อนทางยาปี 61 การบริหารยา(administration error) จำนวน ระดับ พบว่ามีความเสี่ยงที่สำคัญ - ให้ยาผิดชนิด 1 C - สั่ง Meptin ให้ยา Domperidone เตรียมยาผิดชนิด - สั่ง Vit K เตรียม Methergin ให้ยาผิดคน 2 C,D - ให้ domperidone - ให้ Ampicillin Iv ผิดคน - ให้ยาผิดวิธี - ให้ยา Pethidine IM => IV - Ceftriaxone 1 g IV drip => IV Push ให้ยาผิดเวลา 5 - ไม่ได้ให้ยา Augmentin / domperidon tab / diclofenac - ให้ carbocytein bid=>tid - ให้ยาผิดDose 4 C3,D1 - ให้ clinda 2x2 => 1x2 / ให้ Genta 100 mg => 80 mg IV drip ให้ ceftriazone 2g =>1 g IV drip /Salbutamol 0.3 ml=> 0.5 ml. NB

บทเรียนการพัฒนา ความคลาดเคลื่อนในการจัดยาผู้ป่วยใน Purpose Process ความคลาดเคลื่อนในการจัดยาผู้ป่วยใน <5ต่อ1000วันนอน # พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 2.98 ในปี 2559 เป็น 13 ในปี 2560 Process ระบบ one day dose Double Check Performance ความคลาดเคลื่อนในการจัดยาผู้ป่วยใน ลดลงจาก 13 ในปี 2560 เป็น 2.18 ในเดือน มิย. 61. ลดปริมาณยาสำรองในหอผู้ป่วยเหลือเพียง 1 สัปดาห์ แก้ไขปัญหายาหมดอายุ

ทีมนำด้านระบบยา ความเสี่ยงสำคัญของระบบยา ความคลาดเคลื่อน - การจัดยาผิดชนิด - จัดยาไม่ครบ/เกินรายการ - จัดยาผิดตัว ระบบ one day dose Double Check ปรับฉลากยาโดยใช้หลักTaller man การจัดเก็บ ปรับกระบวนการ

บทเรียนการพัฒนา ระบบป้องกันการจ่ายยาที่แพ้ซ้ำ Purpose Process จำนวนครั้งของการจ่ายยาที่ผู้ป่วยแพ้ซ้ำ =0 # พบอุบัติการณ์ 1 ครั้งในปี 2558 ไม่มีเภสัชกรสอบสวนการแพ้ยาในวันหยุดราชการ Process ทบทวนแนวปฏิบัติงานบริการ จัดตารางเวรให้เภสัชกรขึ้นสอบสวนการแพ้ยาในวันหยุดราชการ เปลี่ยนแบบรายงานให้มีความชัดเจน เปลี่ยนระบบแจ้งเตือน Performance ไม่พบอุบัติการณ์ในปี 2559, 2560 และ2561

ทีมนำด้านระบบยา ผลลัพธ์การดำเนินการ ตัวชี้วัด ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 เป้าหมาย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 1.ร้อยละของรายการเวชภัณฑ์ที่ไม่มีจ่ายเมื่อมีการเบิก น้อยกว่า 3% 2.44 1.76 4.01 1.36 2.ร้อยละของเวชภัณฑ์ที่หมดอายุหรือเสื่อมสภาพ น้อยกว่า0.05 n/a 2.9 0.0021 3.อัตรายาคงคลัง (เดือน) ≤3เดือน 3.9 2 

บทเรียนการพัฒนา รายการเวชภัณฑ์ที่ไม่มีจ่ายเมื่อมีการเบิก Purpose - จำนวนรายการยาขาดคลัง ในกลุ่มยา life saving drug = 0 รายการ - จำนวนวันสำรองคลัง ไม่เกิน 3 เดือน Purpose - Emergency Box - ยาขาดแคลน  มีบัญชีผู้ขายสำรองขึ้นทะเบียนไว้ - ยาจำเป็นเร่งด่วน  ประสานบริษัทยาส่งด่วน,และ/ หรือ ประสาน รพ.ใกล้เคียงจัดหาด่วน Process - จำนวนรายการยาขาดคลัง ในกลุ่มยา life saving drug = 0 รายการ - จำนวนวันสำรองคลัง ปี 60 = 3.9 เดือน ปี 61 = 2 เดือนไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด Performance

บทเรียนการพัฒนา ระบบแจ้งเตือนเรื่องอุณหภูมิตู้เย็นแช่วัคซีน Purpose - เตือนอุณหภูมิเมื่อไม่ได้มาตรฐาน # ระบบเดิมที่มี ไม่สามารถแจ้งเหตุการณ์ได้อย่างทันเหตุการณ์ Purpose Process - ติดตั้งเครื่องแจ้งเตือนเมื่ออุณหภูมิไม่อยู่ในช่วงที่กำหนด โดยจะโทรแจ้งที่ 5 หมายเลข เพื่อให้เจ้าหน้าที่แก้ปัญหาได้ทันด่วน - มีแผนการจัดการเมื่ออุณหภูมิไม่ได้มาตรฐาน Performance - สามารถทราบปัญหาและแก้ไขได้ทันการณ์ตามแผนปฏิบัติ

ทีมนำด้านระบบยา สถานการณ์ด้านระบบยา

บทเรียนการพัฒนา พัฒนาระบบการเบิกเวชภัณฑ์จากคลัง เบิก on line โดยใช้ QR code เบิกโดยใช้ใบเบิกกึ่งสำเร็จรูป เขียนใบเบิกด้วยลายมือ การสามารถลดความผิดพลาดในการตัดเบิกเวชภัณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 2.04 ของใบเบิกในปี 2561 จากร้อยละ 28.48 ของใบเบิกในปี 2560 ระบบเดิมที่มี ความผิดพลาดเนื่องจากอ่านชื่อยา/วัสดุผิด

เบิกฉับไวใช้ QR code วิธีดำเนินการ จัดทำ QR code และสร้างใบเบิกเฉพาะของห้องยาใน Google ฟอร์ม

บทเรียนการพัฒนา รายการเวชภัณฑ์ที่ไม่มีจ่ายเมื่อมีการเบิก Purpose - ลดระยะเวลาการเบิกเวชภัณฑ์ให้กับเจ้าหน้าที่ห้องยา - ความผิดพลาดในการตัดเบิกเวชภัณฑ์ร้อยละ 1 - ระยะเวลาการตัดเบิกเวชภัณฑ์ลดลง Purpose Process - ใช้ใบเบิกกึ่งสำเร็จรูป - เบิกโดยระบบ QR code - ลดระยะเวลาการเบิกเวชภัณฑ์ให้กับเจ้าหน้าที่ห้องยาในลง5,496นาทีจากปี60 - ลดความผิดพลาดในการตัดเบิกเวชภัณฑ์ ปี61ร้อยละ 0.24 ปี 60 ร้อยละ 1.56 - ระยะเวลาการตัดเบิกเวชภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.88 ลดลงเหลือร้อยละ 0.29 Performance

บทเรียนการพัฒนา พบว่ามียาที่เสื่อมสภาพ/หมดอายุ ตรวจเช็คระบบคอมพิวเตอร์ และ QR code ตรวจเช็คด้วยแถบสี ตรวจเช็คด้วยแบบฟอร์ม

จากเดิมซึ่งห้องตรวจโรคจะพิมพ์ใบสั่งยาให้ผู้ป่วย 2 ใบ บทเรียนการพัฒนา ปัญหาจากการมีผู้รับบริการร้องเรียนว่าให้บริการล่าช้า จากเดิมซึ่งห้องตรวจโรคจะพิมพ์ใบสั่งยาให้ผู้ป่วย 2 ใบ ปัญหา เมื่อบันทึกผ่านการเงินแล้วหากมีความผิดพลาดทั้งจาก ชนิดยา ขนาดยา เกิดขึ้น ไม่สามารถแก้ไขได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ชำระเงินต้องยกเลิกใบเสร็จ ผู้ป่วยนำใบสั่งยา 1 ใบ ให้ห้องจ่ายยาเพื่อจัดยาตามคิว

ระบบยา ปรับเปลี่ยนให้มีเพียงใบสั่งยาเพียง 1 ใบ (ลดขนาดใบสั่งยาเหลือครึ่งA4) โดยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับใบสั่งตรวจสอบเบื้องต้นหากไม่มียาให้ชำระเงินและกลับบ้านได้ เภสัชกรเรียกรับยาตามคิว ทำให้ไม่มีปัญหาเรื่อง การแก้ไขฉลากยาไม่ได้หากผ่านงานการเงินแล้ว ถ้ามียาต้องตรวจทานความถูกต้องโดยเภสัชกรและให้ผู้ป่วยนำใบสั่งยา(พร้อมบัตรคิว รับยา)นำไปชำระเงิน

บทเรียนการพัฒนา ระบบยา พบปัญหาว่ารับยาล่าช้าเพราะมีคำสั่งใช้ยาของแพทย์ใน OPD Card ไม่ตรงกับใบสั่งยาเช่นจำนวนของยาน้ำที่ให้คนไข้ไม่ตรงกัน,ขนาดยาที่ใช้ต่างกัน สาเหตุ - แพทย์เปลี่ยนขนาด จำนวน หรือวิธีใช้ยา ภายหลังจากพิมพ์ใบสั่งยาและสั่งพิมพ์ฉลากยาแล้วทำให้ไม่ตรงกัน รวมทั้งการมีแพทย์ฝึกหัดมาตรวจรักษาที่ไม่คุ้นเคยกับโปรแกรม เลือกวิธีการใช้ยาที่ผิดจากที่ต้องการ ส่งผล ต้องมีการแก้ไข/ยกเลิกใบเสร็จ จึงจะแก้ไขได้ทำให้รับยาล่าช้า

ระบบยา พบปัญหาว่ารับยาที่แพทย์สั่งจากคลินิกต่าง ๆ ไม่ตรงกันเช่น ยาที่จ่ายจาก well baby ไม่ตรงกับห้องตรวจโรคเด็ก สาเหตุ - แพทย์เปลี่ยนขนาด จำนวน หรือวิธีใช้ยา ภายหลังจากผลการเจาะเลือดของเด็กออกมาแล้วเช่นยาเสริมธาตุเหล็ก ที่well baby สั่ง1.5cc สัปดาห์ละ1ครั้ง แต่ห้องตรวจโรคเด็กสั่ง 2.5 เช้า-เย็น จึงทำการประสานงานกันทุกหน่วยและให้ยึดคำสั่งแพทย์ที่มาจากห้องตรวจโรคเด็กเป็นเกณฑ์ ผลลัพท์ จากการปรับเปลี่ยนกระบวนต่างๆทั้งหมดทำให้สามารถลดเวลารอรับยาเฉลี่ย จาก15นาทีเหลือเพียง 10 นาที และสามารถลดการยกเลิกใบเสร็จ ได้ถึง 70 % และประหยัดเงินค่ากระดาษ80,000บาท/ปี (จำนวน/ขนาดใบสั่งยาลดลง 50%) ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ

ระบบยา ยาที่มีความเสี่ยงสูง (high-alert drugs) หมายถึง ยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตราย หรือผลเสียต่อผู้ป่วยที่รุนแรง ถ้าหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้ ยาทั้งหมดมี 5 ตัว 6 ความเข้มข้น

ระบบยา ชื่อพ้อง มองคล้าย (LASA drugs) หมายถึงกลุ่มยาที่ชื่อมองดูคล้ายคลึงกัน อาจเป็นตัวสะกดหรือตัวอักษรเริ่มต้น รวมทั้งกลุ่มยาการออกเสียงใกล้เคียงกัน 15 คู่

ระบบยา จุดเน้น การพัฒนา ให้บริการตามมาตรฐานทางเภสัชกรรมสู่การเป็น ห้องยาคุณภาพ พร้อมให้คำแนะนำปรึกษาเรื่องยาแก่ผู้ป่วย โดยเริมดำเนินโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจส่วนบน และโรคท้องร่วงเฉียบพลัน ทำ discharg drug counseling ฉลากยาที่มี QR code

ตอบข้อซักถาม จุดเน้น การพัฒนา

ตอบข้อซักถาม