ความหมายของการจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
INDM 0419 Industrial Human Resource Management 1 ภาพรวมของการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management: Overview.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
มาตรฐาน ISO ใครควรทำ ทำแล้วได้อะไร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร
การบริหารจัดการองค์การ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ ( MANAGEMENT) บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ

ความหมายของการจัดการ คือ กระบวนการในการประสานงานงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ (Efficiently) และประสิทธิผล ( Effectively)

ความแตกต่างของ Efficiently และ Effectively ประสิทธิภาพ Efficiently : วัดจากความสามารถของการทรัพยากรที่ใช้ ( input ) กับผลผลิต ( output ) ที่ได้ถ้าผลผลิตมาโดยใช้ทรัพยากรน้อย หรือประหยัดที่สุดก็ถือว่ามีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Effectively : วัดจากความสามารถในการบรรลุเป้าหมายขององค์การซึ่งมักเป็นในระยะยาว ถ้าองค์การสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่ตั้งไว้ได้ในระยะยาวก็ถือว่ามีประสิทธิผลบางครั้งการปฏิบัติงานอาจมีประสิทธิภาพแต่ไม่ประสิทธิผลก็เป็นได้

วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน Output Increased But Same Input O I Output Increased But Input Decreased Same Output But Input Decreased Output & Input Increased But Increasing Ratio of Input is Lower than Output Same Output & Input But Output Value Added O(OVA)

องค์ประกอบของหน้าที่การจัดการ 1. แบ่งเป็น 3 ประการ ประกอบด้วย การวางแผน การดำเนินการ การควบคุม 2. แบ่งเป็น 4 ประการ ประกอบด้วย การจัดองค์การ การอำนวยการ

3. แบ่งเป็น 5 ประการ ประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์การ การจัดบุคคล การอำนวยการ การควบคุม

4. แบ่งออกเป็น 7 ประการ ( POSDCORB ) การวางแผน : planning การจัดองค์การ : organizing การจัดบุคคล : staffing การอำนวยการ : directing การประสานงาน: co-ordinating การรายงาน: reporting การงบประมาณ : budgeting

หน้าที่การจัดการ ( Management Functions ) หน้าที่ทางการจัดการสามารถแบ่งได้หลายหน้าที่ซึ่งในที่นี้ จะหน้าทางการจัดการออกเป็น 5 ประการ ประกอบด้วย 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองค์การ (Organizing) 3. การจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staffing) 4. การชักนำ (Leading) 5. การควบคุม (Controlling)

หน้าที่การจัดการ ( Management Functions ) 1. การวางแผน ( Planning ) : เป็นหน้าที่แรกที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดทิศทาง(Direction) ภารกิจ( Mission) เป้าหมาย (Goals) และวัตถุประสงค์ขององค์การ ตลอดจนกรอบความคิด แนวทางวิธีการปฏิบัติ (Procedure) 2. การจัดองค์การ (Organizing) : คือการจัดทำโครงสร้างองค์การ (Organization Structure ) และกำหนดระบบงาน (Work System) บทบาท (Role) อำนาจหน้าที่ (Authority) ความรับผิดชอบ (Responsibility) และหน้าที่( Duty) ของบุคลากร

3. การจัดบุคคลเข้าทำงาน ( Staffing) : คือการจัดบุคคลให้เหมาะสมกับงานทั้งในด้านคุณภาพ และปริมาณงาน “ Put the right man on the right job “ 4. การนำ (Leading ) : คือความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำ และผู้ตาม ในการชี้เป้าหมาย โดยการชักจูง กระตุ้น เปลี่ยนแปลงผู้ตามหรือให้ปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถด้วยความเต็มใจ 5. การควบคุม ( Controlling ) : คือกระบวนการในการกำหนดขั้นตอนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และแก้ไข ให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมจริง

การจัดการ (Management) Planning Organizing Staffing Leading Control เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนย่อย How? Who? สรรหา พัฒนา สั่งการ จูงใจ แก้ปัญหา ตรวจสอบแผน GOALS

ความสำคัญของการจัดการ 1. การจัดการเป็นขององค์การ กล่าวคือองค์การจะประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ จำเป็นจะต้องมีระบบการจัดการที่ดี 2. การจัดการเป็นเทคนิควิธีการที่ทำให้สมาชิกภายในองค์การเกิดจิตสำนึกร่วมกันในการปฏิบัติงาน 3. การจัดการเป็นการกำหนดขอบเขตในการทำงานของสมาชิกในองค์การไม่ให้เกิดการทำงานที่ซ้ำซ้อน 4. การจัดการเป็นการแสวงหาวิธีการที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงานให้องค์การเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด

ความแตกต่างระหว่างการจัดการและการบริหาร(Management and Administration) Management : การจัดการหมายถึงกระบวนการในการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) และประสิทธิผล ( Effective) โดยการสั่งการและการทำงานร่วมกับบุคคลอื่น Administration : การบริหาร หมายถึง การกำหนดแนวทาง นโยบาย การสั่งการ การอำนวยการ การสนับสนุน การตรวจสอบ ให้สามารถดำเนินงานให้ได้ตามเป้าหมาย โดยอาศัยคนอื่นเป็นผู้ทำ

ความแตกต่างระหว่างการจัดการและการบริหาร(Management and Administration) กำหนดนโยบาย ดำเนินการตามนโยบาย

ระดับของการจัดการ Level of Management ในการปฏิบัติงานของฝ่ายต่างๆ ในองค์การ ระดับของอำนาจในการควบคุม และสั่งงานย่อมมีความแตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งได้ 3 ระดับคือ Top Management Middle Management First – Line Management Non managerial Employees

Top Management การจัดการในระดับสูง Top Management งานที่ต้องทำ พิจารณาและทบทวนแผนระยะยาว ประเมินผลการปฎิบัติงานของแผนงานหลักต่างๆ ประเมินเจ้าหน้าที่ชั้นบริหารและเตรียมการคัดเลือกนักบริหารตำแหน่งสำคัญ ปรึกษาหารือกับผู้บริหารระดับรองลงไปในเรื่องราวและปัญหาสำคัญต่างๆ

Middle Management การจัดการในระดับกลาง Middle Management งานที่ต้องทำ จัดทำแผนระยะปานกลางโดยยึดถือตามแผนระยะยาวของฝ่ายบริหารระดับสูง ประเมินผลงานบริหารเพื่อพิจารณาความสามารถของหัวหน้างานและเตรียมการให้การเลื่อนขั้น วางนโยบายของฝ่าย-ติดตามผลการปฎิบัติงานของงานด้านการผลิต

First – Line Management จัดทำรายละเอียดแผนปฎิบัติงานสำหรับระยะสั้นโดยยึดถือตามแผนระยะปานกลางของผู้บริหารระดับกลาง ติดตามผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติหรือหัวหน้างาน พิจารณามอบหมายงานให้กับพนักงาน ติดต่อกับพนักงานผู้ปฏิบัติโดยใกล้ชิด

หน้าที่การจัดการในระดับการจัดการที่แตกต่างกัน TOP : PLAN + ORGANIZE + CONTROL MIDDLE : PLAN + ORGANIZE + STAFF FIRST LINE : LEADING

ทักษะทางการจัดการ (Managerial Skills) หมายถึง ความสามารถที่แสดงพฤติกรรมหรือปฎิบัติงานอย่างถูกต้อง โดยที่ผู้บริหารไม่ว่าอยู่ในระดับใดต้องมีทักษะทางการจัดการที่สำคัญ 3 ประการดังนี้ 1. ทักษะทางด้านเทคนิค(Technical Skill ) : ความรู้ ความสามารถ และความชำนาญ ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการและขั้นตอนการปฎิบัติให้งานสำเร็จตามที่ต้องการ 2. ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations Skill ): ความสามารถในการปฏิบัติงานและการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น 3. ทักษะด้านความคิด( Conceptual Skill ) : ความสามารถในการมองภาพรวม และวิเคราะห์แนวทางในการแก้ปัญหา

ทักษะและระดับการจัดการ