ผอ.เบญจวรรณ ไกรวุฒินันท์ ดร.จารุวัลฐ์ สุทธิสานนท์ OBECQA Management การจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ (OBECQA : Organizational Excellence Model) หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล WCSS ผอ.เบญจวรรณ ไกรวุฒินันท์ ดร.จารุวัลฐ์ สุทธิสานนท์ นายชัชวาล สงวนศักดิ์ นายวัชระ การสมพจน์ 1
เป็นหมวดหลักของเกณฑ์ในด้านสารสนเทศที่สำคัญทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ รวมทั้งการจัดการความรู้ของโรงเรียนอย่างมีประสิทธิผล เพื่อผลักดันให้เกิดการปรับปรุง การสร้างนวัตกรรม และการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน 2
Organizational Excellence Model : OBECQA 3
การวิเคราะห์ และการปรับปรุงฯ 4.2การจัดการความรู้สารสนเทศ และเทคโนโลยี การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การวัด การวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงฯ ความรู้ขององค์กร -การจัดการความรู้ KM ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ -มีคุณภาพ ปลอดภัย พร้อมใช้ -คุณลักษณะ ฮาร์ดแวร์ และซอฟแวร์ 4.2การจัดการความรู้สารสนเทศ และเทคโนโลยี
ตัวอย่างของกระบวนการวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุงผลการดำเนินการ ORGANIZATIONAL PERFORMANCE REVIEWS PERFORMANCE IMPROVEMENT TOOLS KEY PERFORMANCE MEASURES DEPLOYMENT METHODS Corporate Strategy Measures Quarterly Strategic Plan Review Modified Action Plans Action Request Process LEAN Tools Employee Development Plans NCR Corrective Action Best Practice Sharing Communication Plan C O M U N I A T E Mortally Report Card P R I O T Z E A N L Y Z E Monthly Operational Reviews Weekly Operations Planning Meetings People Strategic Plan Measures Monthly People Strg. Plan Review Weekly Update E-Mail Operational Scorecards Weekly Operational Planning MESA Portal President’s Message Profit & Loss Statements Project Lessons Learned Town Hall Meetings Quality Report Card NCR Root Cause Analysis One-on-One Communication NCR MESA,BNQA Winner 2012
วิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินงาน ตัวอย่าง : ไม่ใช่กระบวนการต้องสร้างวัฒนธรรม แต่เป็นวัฒนธรรมในการทำ >ให้เป็น Fact 4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียนวิธีการอย่างไร ในการวิเคราะห์และปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน ข ก วิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินงาน (1) เลือกตัววัด -เลือก รวบรวม -ทำให้สอดคล้อง -บูรณาการ -ใช้เพื่อติดตาม -งานประจำวัน -ผลดำเนินการโดยรวม -ความก้าวหน้าของแผน -ตัววัด (+การเงิน) -นำใช้เพื่อสนับสนุน -การตัดสินใจในการปฏิบัติงาน (2) ข้อมูลเปรียบเทียบ -จากการเทียบเคียงร.ร.อื่น -การเปรียบเทียบเชิงแข่งขัน -เปรียบเทียบผลกับร.ร.คู่แข่ง (3) ใช้ข้อมูลนักเรียน/ครู -การตัดสินใจ -ระดับกลยุทธ์ -ระดับปฏิบัติการ -รวมข้อร้องเรียน ใช้ตัววัดวิเคราะห์ที่สำคัญของโรงเรียน *ผลสำเร็จของโรงเรียน *ผลในเชิงแข่งขัน *ความมั่นคงทางการเงิน *ความก้าวหน้า/บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ *การตอบสนองอย่างรวดเร็ว 2.1ข -Organization -Senior leaders -Governance board P2ก 3.1 ค (1) ใช้ผลการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (2) ใช้ผลการทบทวนเพื่อคาดการณ์ในอนาคต + ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3) ใช้ผลการทบทวนเพื่อปรับปรุงต่อเนื่องและสร้าง นวัตกรรม - จัดลำดับสำคัญ - ถ่ายทอดสู่กลุ่มงาน ระดับปฏิบัติการ (+/- ผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ) 4.2 5.2 2.2ก (4) ทำให้มั่นใจว่า “คล่องตัว” ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงภายในและภายนอกรวดเร็วไม่คาดคิด 2.1 2.1 6.1 ผล 7.1 – 7.51 TQA Training Program
4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน ก. การวัดผลการดำเนินการ (PERFORMANCE MEASUREMENT) ตัววัดผลการดำเนินการ (PERFORMANCE MEASURE) เลือก รวบรวม ปรับให้สอดคล้องไปแนวทางเดียวกัน ติดตามความก้าวหน้าใน โรงเรียนมีตัววัดที่สำคัญอะไรบ้าง
P 2 ข ความท้าทาย/ ได้เปรียบ ชก. 11 core value - OP. P 2 ข ความท้าทาย/ ได้เปรียบ ชก. ผลลัพธ์ : 7.1-7.5 1.1 ก-(1) กำหนด วิสัยทัศน์ นโยบา ย 3.1 2.1 ก-(1) กลยุทธ์ 5.1 ก (1) อัตรากำลัง 2.1 ก-(2) นวัตกรรม -โอกาสเชิงกลยุทธ์ จาก SWOT - 4.1 ข วิเคราะห์ทบทวนผล การดำเนินการ ---4.1- 2.1 ก-(4) ระบบงาน Work System 2.1 ข-(1) วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ 4.1 ก-(1) เลือกตัววัด ผลการดำเนินการ Core Competency Work Process 6.1 ก (1) (2) ข้อกำหนดหลักสูตรและกระบวนการ/ออกแบบ 4.1 ค (3) การปรับปรุงฯ/สร้างนวัตกรรม และ 6.1 ค การจัดการนวัตกรรม 6.2 ก ประสิทธิภาพและประสิทธิผล -โอกาสเชิงกลยุทธ์ ที่สำเร็จแล้วยุติ จากSWOT จัด Priority นำลำดับถัดไป ขึ้นมาดำเนินการ -
หัวข้อสำคัญในการตรวจประเมิน 177-183 หัวข้อสำคัญในการตรวจประเมิน 177-183
ตัวอย่างการเขียน 4.1a(1) โรงเรียนมองโกเมอรี ความสำเร็จของการวัดประเมินผลของโรงเรียนมองโกเมอรี เกี่ยวข้องกับ การกำหนดระยะเวลาผลสำเร็จ ข้อมูลที่สำคัญ เป้าหมาย และกุญแจ 7 ประการสู่ความสำเร็จ คู่มือกระบวนการสำหรับการคัดเลือกเลือก รวบรวม และการทำให้ข้อมูลมีทิศทางเดียวกัน การบูรณาการข้อมูลและสารสนเทศ สิ่งเหล่านี้ได้รับการติดตามทั่วทั้งองค์กรทุกวันเพื่อตรวจสอบสภาพการปฏิบัติงานขององค์กรด้วยแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ที่มีทิศทางเดียวกัน วัตถุประสงค์กลยุทธ์ และการปฏิบัติการและพัฒนาตามแผนในทุกกลุ่มงานของโรงเรียน แผนปฏิบัติการจะได้รับการพัฒนาจากข้อมูลที่เป็นรายวัน และข้อมูลสุดท้ายที่ถูกรวบรวม วิเคราะห์เพื่อให้เห็นแนวโน้มของผลลัพธ์ งานวิชาการและธุรกิจต้องขับเคลื่อนในกรอบเวลาที่กำหนดและต้องเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นรายวัน และสัปดาห์ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมิน จากการใช้ PDSA CI ข้อมูลและสารสนเทศถูกใช้ไปกำหนดโอกาสในการปรับปรุง การเปลี่ยนแปลงและพัฒนากระบวนการ และเสริมให้เกิดนวัตกรรมจากการแก้ไขปัญหา ตัวชี้วัดขององค์กร(อ้างถึงรูปภาพ 2.1-2) ซึ่งแสดงถึงการใช้ข้อมูลเพื่อการวัดวิเคราะห์ การประยุกต์ระบบเพื่อให้ได้สารสนเทศที่สำคัญและจำเป็นของนักเรียน การทำธุรกรรม และการบริหารจัดการบุคลากร และการพัฒนาอย่างมืออาชีพ
4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) ก. การวัดผลการดำเนินการ (PERFORMANCE MEASUREMENT) 2) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Data) วิธีการเลือก และใช้ข้อมูลสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบที่สำคัญ ที่ระบุใน P 2ก (3) การเลือกตัวเปรียบเทียบเชิงแข่งขัน หรือเปรียบเทียบผลการดำเนินการระหว่างร.ร. กับโรงเรียนคู่แข่ง
4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) ก. การวัดผลการดำเนินการ (PERFORMANCE MEASUREMENT) 3) ข้อมูลนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(STUDENT and STAKEHOLDER Data) วิธีการเลือก และใช้ข้อมูลสารสนเทศจากเสียงของนร./ ผสส.และการตลาด (รวมข้อร้องเรียน) P1 ข (2)
4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) ก. การวัดผลการดำเนินการ (PERFORMANCE MEASUREMENT) 4) ความคล่องตัวของการวัดผลMeasurement Agility) ระบบการวัดผลการดำเนินการของร.ร.สามารถสนองความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว / ที่ไม่ได้คาดคิดทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ตัวอย่างการเขียน 4.1ก(4) โรงเรียนมองโกเมอรี เน้นการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่รวดเร็ว และสามารถใช้สนับสนุนการเรียนการสอน การสื่อสาร การทำงานร่วมกัน และช่วยให้การตัดสินใจสำหรับการสร้างนวัตกรรม ศูนย์ข้อมูลของโรงเรียนที่ประกอบด้วยสาขาในกลุ่มงานต่าง ๆ จะมีข้อมูล สารสนเทศของครู บุคลากร และนักเรียนที่เป็นปัจจุบันจนนักเรียนจบการศึกษาจากโรงเรียน ข้อมูลทางวิชาการรายบุคคลจะถูกตรวจสอบและทำให้ถูกต้องเชื่อถือได้และจัดเก็บไว้ที่ OASIS ข้อมูลสารสนเทศจะได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยเป็นปัจจุบันทุกวัน และกระจายไปตามระบบเพื่อให้ครู บุคลากร และหน่วยงานต่างๆ ได้ใช้ตามความแตกต่างของภาระงาน เราสามารถหาข้อมูลเพื่อดูแนวโน้มและเปรียบเทียบจากศูนย์ OASIS ซึ่งเราใช้สำหรับในการขับเคลื่อนกลยุทธ์ทางการศึกษาและแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้รวมไปถึงกระบวนการทดสอบระดับชาติ (M-Stat) ซึ่งเป็นกระบวนการทบทวนตรวจสอบอย่างเข้มข้นถึงระดับความสามารถของนักเรียน ผลความสำเร็จของโรงเรียนและนักเรียนจะแสดงไว้เป็นส่วนหนึ่งของเว็บไซด์และวารสารวิชาการ จดหมายถึงคณะทำงานทุกคณะ ศูนย์กลางการเข้าถึงข้อมูลการสื่อสารคือ Outlook Web เว็บไซด์โรงเรียน การส่งสัญญาณเตือนเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินสามารถที่จะเข้าถึงในช่องทางการสื่อสารนี้ คณะทำงานสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลอย่างมืออาชีพ รวมถึงข้อมูลผลตอบแทนของครู บุคลากรซึ่งจะได้รับการปรับให้เป็นปัจจุบันทุกวัน
4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) ข. การวิเคราะห์ และทบทวนผลการดำเนินการ (PERFORMANCE ANALYSIS and Review) การทบทวนผลการดำเนินการ โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการใช้ตัววัดผลการดำเนินการที่สำคัญ มาทบทวนและทำให้มั่นใจว่าผลสรุปนั้นใช้ได้ ในเรื่อง ความสำเร็จของโรงเรียน ความก้าวหน้าในการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อความเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างและระบบงานของโรงเรียน 2.1 ก(2) 4.1 ค (1) การปรับปรุงผลการดำเนินการ สู่ BP.
4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน (ต่อ) ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ (PERFORMANCE Improvement) (1) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) (2) ผลการดำเนินการในอนาคต (3) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและนวัตกรรม
Workshop หมวด 4 หัวข้อ 4.1 ศึกษาตัวอย่างกระบวนการวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดำเนินการต่อไปนี้ และโปรดวิเคราะห์ว่า กระบวนการต่อไปนี้มีการดำเนินการที่ครบถ้วนตาม Overall Requirement ของข้อ 4.1 (4.1 ก, 4.1 ข, 4.1 ค) อย่างไร (ตรงจุดใด) กระบวนการดังกล่าวข้างต้นเชื่อมโยงกับกระบวนการในหมวดอื่น ๆ ในประเด็นใดบ้างอย่างไร
4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. ความรู้ขององค์กร ข.ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยี (1) การจัดการความรู้ (2) การเรียนรู้ระดับองค์กร (1) คุณภาพของข้อมูลและสารสนเทศ (2) ความปลอดภัยของข้อมูลและสารสนเทศ (3) ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ (4) คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ (5) ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน
4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ : โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการจัดการสินทรัพย์ทางความรู้ของโรงเรียน สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ ข ก การจัดการทรัพยากร (1) ความมั่นใจคุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ (3) ความพร้อมใช้และสามารถ เข้าถึงได้ บุคลากร ผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ ที่สำคัญ รักเรียน/ผสส. (5) ตวามมั่นใจว่าสามารถใช้งานอย่างต่อเนื่องในภาวะฉุกเฉินเพื่อตอบสนองนักเรียนและผู้ปกครองอย่างมีประสิทธิผล (2) ปลอดภัยและเป็นความลับ (4) ความมั่นใจว่า Hardware / Software เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย 6.2 3.2 แม่นยำ ถูกต้องและเชื่อถือได้ ทันเหตุการณ์ รวบรวม / ถ่ายทอด ความรู้ของบุคลากร ถ่ายทอดความรู้ระหว่างโรงเรียนกับ. 5.2 นักเรียน/ผสส. ผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ ที่สำคัญ KM (1) รวบรวม/ถ่ายทอด ไปใช้สร้างนวัตกรรม และใช้ในกระบวนการ วางแผนกลยุทธ์ Best Practice ค้นหา ระบุ แบ่งปัน นำไปดำเนินการ 2.1 (2) ใช้ความรู้และทรัพยากรเพื่อปลูกฝัง “การเรียนรู้” เข้าไปสู่การปฏิบัติการของโรงเรียน ให้การเรียนรู้ฝังลึกลงในวิธีการปฏิบัติงาน ของโรงเรียน TQA Training Program
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) การบ่งชี้ความรู้หรือการค้นหาความรู้ (Knowledge Identification) การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้(Knowledge Sharing) การเรียนรู้ (Learning) (บุญดี บุญญากิจ และคณะ 2549 ; สุวรรณ เหรียญเสาวภาคย์ และคณะ, 2548)
เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านการจัดการความรู้ เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) ช่วยให้บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกัน (Collaboration Technology) ช่วยให้สามารถประสานการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีในการจัดเก็บความรู้ (Storage Technology) ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ความมั่นใจคุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ (3) ความพร้อมใช้และสามารถ เข้าถึงได้ บุคลากร ผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ ที่สำคัญ รักเรียน/ผสส. (5) ตวามมั่นใจว่าสามารถใช้งานอย่างต่อเนื่องในภาวะฉุกเฉินเพื่อตอบสนองนักเรียนและผู้ปกครองอย่างมีประสิทธิผล (2) ปลอดภัยและเป็นความลับ (4) ความมั่นใจว่า Hardware / Software เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย 6.2 3.2 แม่นยำ ถูกต้องและเชื่อถือได้ ทันเหตุการณ์
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. คุณภาพของข้อมูลและสารสนเทศ สารสนเทศที่มีคุณภาพนั้น ต้องพิจารณาถึง วัตถุประสงค์(Objectivity) ของสารสนเทศ การนำไปใช้ประโยชน์(Utility) ความมั่นคงปลอดภัย (Integrity)
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ความปลอดภัยของข้อมูลและสารสนเทศ การควบคุมรักษาความปลอดภัยโดยตัวซอฟต์แวร์ (Software Control) การควบคุมความปลอดภัยของระบบโดยฮาร์ดแวร์ (Hardware Control) การใช้นโยบายในการควบคุม (Policies) การป้องกันทางกายภาพ (Physical Control)
ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ 1. ควรทำให้ระบบข้อมูลและสารสนเทศมีความพร้อมใช้งานและสามารถนำมาใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ รวบรวมข้อมูลจากทุกแหล่งไว้ในที่เดียวกัน และต้องมีการสํารองข้อมูลไว้ด้วย ดำเนินการประมวลผลแบบ Real Time เพื่อให้ข้อมูลมีความทันสมัยมากที่สุด ติดตั้งระบบป้องกันข้อมูลสูญหาย และข้อมูลถูกทําลาย เพื่อให้สามารถเรียกดูข้อมูลได้ทุกเวลาที่ต้องการ 2. ควรกำหนดระดับการเข้าถึงข้อมูลได้ และรูปแบบของข้อมูลตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้รับบริการขององค์กร
คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มีการดำเนินการอย่างไรเพื่อให้มั่นใจได้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัยและง่ายต่อการใช้งาน ฮาร์ดแวร์ Server ได้ใช้อุปกรณ์ของ IBM, HP การสำรองข้อมูลในลักษณะของ SAN Storage และในระบบคราวน์ ได้รับการตรวจหาประสิทธิภาพจากผู้ส่งมอบคือร้าน ? เป็นประจำทุกเดือน กำหนดโครงการและงบประมาณในการบำรุงรักษาฮาร์ดแวร์อย่างสม่ำเสมอ ซอฟต์แวร์ ใช้ระบบปฏิบัติการ ? มีการตรวจสอบเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้มีความพร้อมใช้งานและมีความเสถียร มีระบบแสดงตัวตนในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ความพร้อมใช้งานในยามฉุกเฉิน ที่ เหตุฉุกเฉิน มาตรการ/วิธีปฏิบัติ 1 เครื่อง Serverมีปัญหา จัดวางระบบเพื่อให้มีการสำรองข้อมูล (Back Up) จัดเตรียมเครื่อง Server สำรองเพื่อใช้ทดแทนได้ทันทีมีความต่อเนื่องในการใช้งาน สำรองข้อมูลในระบบ Cloud 2 กระแสไฟฟ้าขัดข้อง จัดให้มีเครื่องสำรองไฟฟ้าสำหรับเครื่อง Server และอุปกรณ์ระบบเครือข่ายให้สามารถใช้งานได้ต่อเนื่อง 3 สัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่สามารถใช้งานได้ เตรียมความพร้อมของสัญญาณอินเทอร์เน็ตไว้หลายวงจร. 4 เกิดการโจมตีจาก Hacker และไวรัสคอมพิวเตอร์ ป้องกันระบบเครือข่ายด้วยระบบFirewal เตรียมทีมงานผู้ดูแลระบบที่มีความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที อบรมให้ความรู้บุคลากรและนักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ สนับสนุนติดตั้งโปรแกรมแอนตี้ไวรัสและอัพเดตโปรแกรมอยู่เสมอ 5 กรณีที่ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อื่นๆในระบบเกิดการเสียหาย จัดให้มีคลินิกเพื่อซ่อมบำรุงเบื้องต้น กรณีเกิดความเสียหายหนักก็มีการประสานงานกับผู้เชี่ยวชาญภายนอกเพื่อขอร่วมแก้ปัญหาต่อไป
Workshop หมวด 4 หัวข้อ 4.2 ศึกษาตัวอย่างกระบวนการวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดำเนินการต่อไปนี้ และโปรดวิเคราะห์ว่า กระบวนการต่อไปนี้มีการดำเนินการที่ครบถ้วนตาม Overall Requirement ของข้อ 4.1 (4.1 ก, 4.1 ข, 4.1 ค) อย่างไร (ตรงจุดใด) กระบวนการดังกล่าวข้างต้นเชื่อมโยงกับกระบวนการในหมวดอื่น ๆ ในประเด็นใดบ้างอย่างไร